Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการควบคุม การติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและการควบคุม การติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
เชื้อก่อโรค (Infectious agent)
เชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อ
การเพิ่มจำนวน การเจริญเติบโต
ความสามารถในการรุกรานเข้าสู่เนื้อเยื่อของร่างกาย (Invasiveness)
ความสามารถในการก่อโรค (Pathogenicity)
แบคทีเรีย
กรัมบวก (Gram positive)
กรัมลบ (Gram negative)
โปรโตซัว
Entamoeba histolytica
เกิดโรคบิด
เชื้อรา
Candida albicans
Canduda glabrata
ไวรัส
เชื้อหัด
อีสุกอีใส
เริม
ไข้หวัดใหญ่
Corona virus
พยาธิ
พยาธิเส้นด้าย (พบมากในเด็ก)
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค (Reservoir)
คน สัตว์
พืช ดิน แมลง
ทางออกของเชื้อ (Portal of exit)
ระบบทางเดินหายใจ
น้ำมูก
ลมหายใจ
เชื้อออกทางระบบสืบพันธ์ุ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
เชื้อที่อยู่บนแผลที่ผิวหนัง
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ (Mode of transmission)
การสัมผัส
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนํา
ทางเข้าของเชื้อ (Portal of entry)
ทางเข้ามักเป็นทางเดียวกับที่ออกมา
พบบ่อย
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีดขาด
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล (Susceptible host)
ลักษณะของเชื้อจุลชีพ
ธรรมชาติของเนื้อเยื่อที่รับเชื้อ
สุขภาพทั่วไปของแต่ละบุคคล
ภูมิคุ้มกันโรค
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความเครียด (Stress)
มีความไวต่อการติดเชื้อได้ง่าย
ภาวะโภชนาการ
บุคคลที่ได้รับอาหารครบถ้วนความไวต่อการติดเชื้อ
น้อยกว่าคนที่ขาดอาหาร
ความอ่อนเพลีย
พักผ่อนไม่เพียงพอจะติดเชื้อง่าย
คนที่ทำงานหนักเกินไป
ความร้อนหรือความเย็น
ร่างกายต้องปรับตัวต่อความร้อนหรือความเย็นมาก
ความร้อนหรือเย็นจัดมีความไวต่อการติดเชื้อ
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
มีความต้านทานต่ำกว่าปกติ
เพศ
บางโรคพบในแต่ละเพศไม่เท่ากัน
กรรมพันธุ์
ขาดสาร Immunoglobulin
อายุ
เด็กมีความไวต่อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่
คนสูงอายุมีภูมิต้านทานน้อย
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
คนที่ได้รับยาที่กดการสร้างภูมิคุ้มกัน
อาชีพ
สัมผัสกับเชื้อได้ง่าย
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้ออันเป็นผลจากการที่ผู้ป่วยได้รับเชื้อจุลชีพขณะอยู่ในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรค
เชื้อประจําถิ่น
พบบนร่างกายผู้ป่วย
พบมาก
เชื้อแบคทีเรียกรัมลบทรงแท่ง
(Gram negative bacilli)
คน
ผู้ป่วย
บุคลากรทางโรงพยาบาล
สิ่งแวดล้อม
อาคารสถานที่
อุปกรณ์ทางการแพทย์
ผู้ป่วย ญาติที่มาเยี่ยม
การแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส
(Contact transmission)
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง
มือไปสัมผัสแหล่งโรคแล้วสัมผัสผู้ป่วย
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยอ้อม
การสัมผัสกับสิ่งของหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์
ที่มีการปนเปื้อนเชื้อก่อโรค
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง (Droplet spread)
สัมผัสกับฝอยละอองน้ำมูกน้ำลาย
ที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ(Airborne transmission)
การสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศ
เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนํา
ผลิตภัณฑ์ของเลือดสาร
อาหาร น้ำ ยา
น้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดําแก่ผู้ป่วย
การแพร์กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ
ได้รับเชื้อจากการถูกแมลงหรือสัตว์กัด
ยุงที่มีไวรัสเด็งกี่กัด
ยุงที่มีเชื้อมาลาเรียกัด
แมลงวันเกาะขยะแล้วมาเกาะอาหาร
การทําลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทําลายเชื้อ (Disinfection)
การล้าง
สวมถุงมือยาง ผ้ากันเปื้อน และแว่นป้องกันตา
การต้ม
เป็นวิธีการทําลายเชื้อที่ดีที่สุด ทําง่ายประหยัด
ควรต้มน้ำเดือดนาน20นาที
การใช้สารเคมี
เป็นวิธีการสุดท้ายที่จะใช้ถ้าไม่มีวิธีอื่น
การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
การล้างมือก่อนทําหัตถการ (Surgical handwashing)
การเตรียมผิวหนัง
ฉีดยา
ผ่าตัดเล็ก/ใหญ่
การทําแผล ล้างแผลให้สะอาดด้วย
Steriled normal saline
การทําความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอด
หรือก่อนการตรวจภายใน
การสวนล่างช่องคลอด
การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัด
ระดับการทําลายเชื้อ
การทําลายเชื้อระดับสูง (High-level disinfection)
การทําลายเชื้อระดับกลาง
(Intermediate-level disinfection)
การทําลายเชื้อระดับต่ำ (Low-level disinfection)
การทําให้ปราศจากเชื้อ (Sterilization)
วิธีการทางกายภาพ (Physical method)
การใช้ความร้อน (Thermal or Heat sterilization)
การเผา (Incineration)
การใช้ความร้อนแห้ง (Dry heat)
การต้ม (Boiling)
การใช้ความร้อนชื้น (Moist heat)
การใช้รังสี (Ionizing radiation)
รังสีคลื่นสั้นในการทําให้อุปกรณ์ปราศจากเชื้อ
รังสีเอกซ์ (X-ray)
รังสีแกมมา (Gamma rays)
ทําลายเชื้อแบคทีเรียได้หลายชนิด
รังสีอุลตร้าไวโอเลท (Ultraviolet light: UV)
ลดจํานวนเชื้อก่อโรคที่มีอยู่ในอากาศ
รังสี UV
วิธีการทางเคมี (Chemical method)
การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas (EO)
Formaldehyde
การใช้ High-level disinfectant
ห่ออุปกรณ์ที่ผ่านการทําให้ปราศจากเชื้อ
แล้วจะมีระยะเวลาในการคงสภาพปราศจากเชื้อ
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
Standard precautions
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากเลือด
สารน้ำของร่างกายสารคัดหลั่งทุกชนิด และสารขับถ่าย
มาใช้กับผู้ป่วยทุกราย
นําแนวปฏิบัติของ Universal precautions และ
Body substance isolation
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
การล้างมือธรรมดา
ฟอกด้วยสบู่
ขั้นตอนที่ 1 เปิดน้ำให้ราดมือทั้งสองข้าง ฟอกด้วยสบู่ให้ทั่วมือ โดยหันฝ่ามือถูฝ่ามือ
ขั้นตอนที่ 2 ฝ่ามือถูหลังมือและกางนิ้วมือ เพื่อถูง่ามนิ้วมือ
ขั้นตอนที่ 3 ฝ่ามือถูฝ่ามือและกางนิ้วมือ เพื่อถูง่ามนิ้วมือ
ขั้นตอนที่ 4 มือสองข้างจับล็อคกัน ให้ฝ่ามืออีกข้างถูหลังนิ้วมือและนิ้วมือถูนิ้วมือ
ขั้นตอนที่ 5 ฟอกหัวแม่มือโดยรอบ ด้วยฝ่ามือ
ขั้นตอนที่ 6 ใช้ปลายนิ้วมือถูฝ่ามือทําสลับกันทั้ง 2 ข้าง
ขั้นตอนที่ 7 ถูรอบข้อมือทั้ง 2 ข้าง
การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อโรค
ล้างมือด้วยน้ำสะอาดให้มือเปียกให้ทั่ว
ฟอกด้วยน้ำยาทําลายเชื้อ (Antiseptic) อย่างน้อย 30 วินาที
การล้างมือก่อนทําหัตถการ (Surgical hand washing)
ฟอกมือด้วยน้ำยาทําลายเชื้อที่มือจนถึงข้อศอก
เป็นเวลา 2-6 นาที
การใช้ Alcohol hand rub
ทดแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน
หรือในบริเวณที่ไม่มีอ่างล้างมือ
ไม่ควรใช้ในกรณมือเปื้อนสิ่งสกปรก
สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
ถุงมือ
ถุงมือปราศจากเชื้อ (Sterile glove)
ใช้เมื่อจะหยิบ จับ เครื่องมือที่ปราศจากเชื้อ
หรือเมื่อจะทําหัตถการ
ถุงมือสะอาด
(Non–sterile glove)
ใช้เมื่อจะหยิบ จับ สิ่งของสกปรก น่ารังเกียจ มีสารพิษ หรือมีเชื้อโรคการจับต้องผู้ป่วย
เสื้อคลุม
ผ้าปิดปากและจมูก
หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
ทําความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
ทําความสะอาดและทําลายเชื้อ หรือทําให้ปราศจากเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ทุกชิ้นที่ใช้กับผู้ป่วยแล้ว
หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน
Transmission - based precautions
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
(Airborne precautions)
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ(Isolation)
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรงหรือผ่านเครื่องกรองที่มีประสิทธิภาพ
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูกน้ำลาย
(Droplet precautions)
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
หากไม่มีห้องแยกและไม่สามารถจัดให้ผู้ป่วยอยู่รวมกันได้ ควรจัดระยะห่างระหว่างเตียงไม่น้อยกว่า 3 ฟุต
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ ผ้าปิดปาก-จมูก
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส
(Contact precautions)
สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย
ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมน้ำยาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
สวมเสื้อคลุม
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หากสามารถทําได้ควรแยกอุปกรณ์ชนิด Non-critical items สําหรับผู้ป่วยโดยเฉพาะ
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
กําจัดเชื้อโรค
ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย ควรจะแยกจากแหล่งของเชื้อโรค
สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่
การทําลายขยะ
การแยกขยะในโรงพยาบาล
การทําลายเชื้อและการทําให้ปราศจากเชื้อ
ต้องกระทําอย่างถูกต้อง
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย (Assessment)
การซักประวัติและตรวจร่างกายเกี่ยวกับโรคของผู้ป่วย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู้ผู้อื่น
มีโอกาสเกิดการระบาดของโรคในชุมชน
การวางแผนและให้การพยาบาล
(Planning and Implementation)
ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาลผู้ป่วย
ใช้หลัก Airborne precautions
ให้คําแนะนําการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยและญาติ
รายงานอุบัติการณ์การเฝ้าระวังการเกิดโรค
ต่อคณะกรรมการการติดเชื้อของโรงพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสูญญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย