Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริการสุขภาพเชิงธุรกิจ - Coggle Diagram
การบริการสุขภาพเชิงธุรกิจ
ผลิตภัณฑ์
ความหมาย
สินค้าซึ่งเป็นสิ่งที่มองเห็น และจับต้องได้หรืออาจเป็นบริการที่จับต้องไม่ได้แต่รับรู้ได้สามารถตอบสนองความพอใจของผู้บริโภค
ประเภท
ผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม
ขายให้กับผู้ซื้อที่เป็นอุตสาหกรรม
นำมาประกอบเป็นผลิตภัณฑ์ของตัวเองออกขาย
ผลิตภัณฑ์เพื่ออุปโภค บริโภค
ขายให้กับผู้บริโภคทั่วไปเพื่อบริโภคเอง
ผลิตภัณฑ์ที่ที่เป็นบริการ
ผลิตภัณฑ์ที่เป็นการบริการอย่างแท้จริง
สิ่งที่ขายไม่เกี่ยวข้องกับตัวสินค้าใดๆ
กิจการธนาคาร
กิจการโรงแรม
กิจการโรงพยาบาล
ลูกค้าในบริการสุขภาพ
ผู้ป่วย (Patients)
คนที่ไม่ป่วย(Healthy)
ผู้บริโภค (Consumer)
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder)
ลูกค้า (Customer)
ปฏิกิริยาของลูกค้ากับ ระดับความพึงพอใจ
ไม่พึงพอใจ
ประมาณ 5 % จะร้องเรียน
พึงพอใจ
จะกลับมาใช้บริการอีก
ประทับใจ
ช่วยบอกต่อ
ตื้นตันใจ
จะเป็นพวกและช่วยปกป้อง
กลุ่มลูกค้า
ลูกค้าภายนอก
ผู้มาใช้บริการ
ลูกค้าภายใน
เจ้าหน้าที่ในทุกหน่วยงาน
ความพึงพอใจของลูกค้า
1 พึงพอใจ
บริการได้ = ความต้องการ
2 ประทับใจ
บริการได้ถึง ความคาดหวัง
3 ตื้นตันใจ / ปีติ
บริการได้ > ความคาดหวัง
วิธีการประเมินความพึงพอใจของลูกค้า
ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ
ใช้การสัมภาษณ์โดยตรง
ใช้การสังเกต การเฝ้าติดตามกระบวนการให้บริการ
ใช้การประเมินทางอ้อมแบบต่าง ๆ เช่น ทำโพล
การบริการสุขภาพ
คุณลักษณะ
ความไม่มีตัวตนที่สัมผัสได้
ความไม่สามารถแยกการให้และการรับบริการได้
ความแปรปรวนของการให้บริการ
ความไม่สามารถรอได้
“องค์กรบริการ”
ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อ
รายได้ส่วนใหญ่ มาจากค่าบริการ/ค่าธรรมเนียม
ต้องมีลูกค้ามาสัมผัสโดยตรง กับกิจกรรม/งานบริการ
ให้บริการแก่ลูกค้าเป็นหลักใหญ่
คุณภาพ
คุณภาพตามความคิด
แบบดั่งเดิม
คุณภาพสินค้า
ผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานตามที่กำหนดไว้
คุณภาพตามความคิด
แบบใหม่
ความพึงพอใจของลูกค้า
ผลิตสินค้าให้สอดคล้องกับความพึงพอใจ
ทฤษฏี มาร์สโลว์
สิ่งที่มนุษย์ต้องการ
ปัจจัย 4
เป็นความต้องการด้านกายภาพ
อาหาร
เครื่องนุ่งห่ม
ยารักษาโลก
ที่อยู่อาศัย
ความมั่นคง
ความปลอดภัย
การเงิน
สุขภาพ
ความเรียบร้อย
เป็นความต้องการด้านความปลอดภัย
การยอมรับ
ความรู้สึกดี
ความรัก
เป็นความต้องการทางสังคม
เกียรติยศ
ชื่อเสียง
เคารพนับถือ
เป็นความภาคภูมิใจ
คุณค่าของชีวิต
เป็นความสำเร็จส่วนตัว
เป็นความพึงพอใจส่วนตัว
สินค้าสาธารณะ
สมาชิกในสังคมนั้นๆ เป็นเจ้าของร่วมกัน
สินค้านั้นไม่สามารถถูกกีดกันจากการบริโภคได้
สินค้าที่ทุกคนจะได้รับการบริโภคในจำนวนเท่าๆกัน
การบริโภคของบุคคลหนึ่งไม่ทำให้ผู้บริโภคอื่นได้บริโภคสินค้าชนิดนั้นน้อยลง
การบริการ
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการหรือกิจกรรม
หน่วยวัดคุณภาพของการบริการ
“ดัชนีความพงึพอใจของลูกค้า”
ระดับความพึงพอใจของลูกค้า
บริการที่ได้รับไป/ความต้องการและความคาดหวัง
บุคลากรที่ดี
ปัจจัย KASH
K
Knowledgeable
A
Good Attitude
S
Skillful
H
Good Habit
“ทฤษฎีสามไอ”
Innocence
ละเลย
Ignorance
จงใจ
Intention
ไม่รู้
ถ้าเป็นเช่นนี้ =
ความบกพร่องในการบริการ
ลักษณะเด่นของเจ้าหน้าที่ในดวงใจ
S
mile = ยิ้มแย้มแจ่มใส
E
arly = ตอบสนองฉับไว
R
espectful = ให้ความนับถือ
V
oluntary mind = อาสาด้วยใจ
I
mage enhancing = ไม่หลู่ภาพลักษณ์
C
ourtesy manner = กิริยาวาจาสุภาพ
E
nthusiasm = กระตือรือร้นเสมอ
การตลาด
ความสำคัญของการตลาด
อาศัยการสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่า
และนำไปแลกเปลี่ยนกับบุคคลอื่น
การตอบสนอง
ความต้องการของลูกค้า
เศรษฐกิจของประเทศ
ผลักดันให้ระบบเศรษฐกิจขยายตัว
ปัจจัยเร่งพัฒนาสินค้าและบริการ
เกิดการกระจายรายได้และการจ้างงาน
องค์กรธุรกิจ
เกิดการแลกเปลี่ยนสินค้า
การสร้างผลกำไร
ผู้บริโภค
เกิดการเลือกสรรสินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพ
ทำให้เกิดการต่อรองสินค้าและบริการ
เกิดการกระจายสินค้าไปสู่ผู้บริโภค
บุคคลที่นำไปใช้
ผู้ผลิต
ผู้บริโภค
นักการเมือง
หน่วยงํานที่ไม่มุ่งหวังกำไร
รัฐบาลประเทศต่าง ๆ
ปรัชญาการจัดการทางการตลาด
แนวความคิดมุ่งการผลิต
ใช้ได้ดีเมื่อ Demand > Supply
เน้นการปรับปรุงคุณภาพการผลิตให้ต้นทุนต่ำลง
ขายสินค้าในราคาต่ำกว่าคู่แข่ง
พัฒนาการจัดจำหน่ายให้มีประสิทธิภาพ
แนวความคิดมุ่งผลิตภัณฑ์
ผู้บริโภคให้ความสำคัญต่อคุณภาพ
สมรรถนะ นวัตกรรม มากกว่าราคา
ผู้ผลิตเน้นการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้มีความโดดเด่น
ระวัง “Marketing Myopia”
การมุ่งพัฒนาแต่ผลิตภัณฑ์จนลืมคำนึงถึงความต้องการ ที่แท้จริงของผู้บริโภค
แนวความคิดมุ่งการขาย
ต้องมีการกระตุ้นการขายด้วยวิธีการต่าง ๆ
ปัจจุบันใช้กับสินค้าที่ขายยากหรือสินค้าที่ไม่อยู่ในความคิดที่จะซื้อ
ต้องระวังเรื่องความพอใจหลังการซื้อ
แนวความคิดมุ่งการตลาด
ยึดหลัก 3 ประการ
การตลาดแบบบูรณาการ
แสวงหากำไรจาก
ความพึงพอใจของลูกค้า
มุ่งเน้นลูกค้า
แนวความคิดการตลาดเพื่อสังคม
หลักการพื้นฐานเหมือแนวความคิดมุ่งการตลาด
ควรพิจารณา 3 ประการ
Society
(Human Welfare)
Consumers
(Satisfaction)
Company
(Profits)
ความแตกต่างระหว่างตลาด
การตลาด และการขาย
ตลาด
สถานที่ในการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ
การตลาด
มุ่งเน้นที่ตัวผู้ซื้อ
กิจกรรมที่ทำให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ
เป็นความต้องการสินค้าและบริการ
การขาย
มุ่งเน้นที่ตัวผู้ขาย
การกระทำเพื่อให้ลุกค้าซื้อสินค้าและบริการ
การจัดการด้านการตลาด
การวิเคราะห์ การวางแผน การปฏิบัติงาน และการควบคุมการดำเนินงานที่ถูกออกแบบเพื่อสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ
รักษาไว้เพื่อผลประโยชน์
จากการแลกเปลี่ยนกับกลุ่มผู้ซื้อเป้าหมาย
การจัดการอุปสงค์
Increasing Demand
Decreasing Demand
การจัดการความสัมพันธ์
ส่วนประสมทางการตลาด
เป็นหัวใจสำคัญของการบริหารการตลาดการจะทำให้การดำเนินงานของกิจการประสบความสำเร็จได้
เป้าหมายให้ได้รับความพึงพอใจสูงสุด
ผลิตภัณฑ์
Customer needs
and wants
ราคา
Cost to the
customer
ช่องทางการจัดจำหน่าย
Convenience
การส่งเสริมการตลาด
Communication
แนวความคิดการตลาดสมัยใหม่
ความสำเร็จของธุรกิจขึ้นอยู่
ความรู้จักกับลูกค้า
วิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า
ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้
ความพึงพอใจของลูกค้า
เป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จของธุรกิจ
ก่อให้เกิดการซื้อซ้ำ
ก่อให้เกิดความภักดีในตรายี่ห้อ
เกิดการบอกต่อ
การบอกต่อ
เป็นการสื่อสารที่มีประสิทธิผลสูงสุด
โดยธุรกิจไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด
แนวโน้มของการตลาดในศตวรรษที่ 21
การเติบโตทางการตลาดขององค์การที่ไม่แสวงกำไร
การเติบโตอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระแสโลกาภิวัฒน์
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของโลก
กระแสการเรียกร้องด้านจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม
ภาพใหม่ของการตลาด
ลักษณะงานการตลาดประกอบด้วยเงื่อนไข
สร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า
สร้างกำไรให้กับทุกกลุ่ม
สร้างกำไรทางการตลาด
สร้างลูกค้า
รูปแบบการบริการทางสุขภาพ
งานบริการพยาบาลที่ได้ต้องมีคุณภาพได้ผลผลิตสูง
งานบริการสุขภาพต้องพัฒนาระบบบริการโดยใช้เทคโนโลยีสูง
บริหารจัดการโดยใช้แนวคิดเชิงธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ร่วมกัน
มุ่งเป้าหมายที่ผู้ใช้บริการเป็นสำคัญ