Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
การเรียกชื่อยา
เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อยา generic name
เรียกชื่อตามค้า trade name
เรียกช่อตามสูตรเคมี chemical name
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
รูปแบบที่เป็นของแข็ง
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ยาอม Lozenge
ยาอมใต้ลิ้น Sublingual
ยาผงเดือดฟู่ Effevescent powder
ยาเม็ด Tablet
ยาผง Pulveres
ยาแคปซูล Capsule
ยาเหน็บ Suppositories
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายน้ำ
ยากลั้วคอ Gargale
ยาอมบ้วนปาก Mouthwash
ยาจิบ Linctuses
ยาหยอดจมูก Nasal preparations
ยาน้ำเชื่อม Syrups
ยาหยอดหู Otic preparations
ยาน้ำใส Solutions
ยาสวนล้าง Irrigation
น้ำปรุง Aromatic water
ยาน้ำสวนทวารหนัก Enemas
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช่น้ำ
ยาโคโลเดียน Colldians
ยากลีเซอริน Glycerines
ยาสิปริริต Spirits
ยาถูนวด Liniments
ยาอิลิกเซอร์ Flixir
ยาป้าย Paints
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
สัตว์ :สกัดจากอวัยวะบางส่วนของสัตว์
ตับอ่อน
ดีหมู
แร่ธาตุ
ทองแดง
น้ำมัน
ไอโอดีน
เหลือแ
พืช
ยาสมุนไพร
สารสกัดบริสุทธิ์
ตัวอย่างยาที่ได้จากแร่ธาตุ
ผงน้ำตาลเกลือแร่
ยา Lithium carbonate ยารักษาโรคจิตชนิดคลุ้มคลั่ง
ยาใส่แผลสด Tincture iodine
จากสังเคราะห์
ใช้บำรุงโลหิต
อะลูมิเนียมไฮดอกไซด์
เกลือของเหล็ก
ยาน้ำกระจายตัว
แมกมาและมิลค์ Magmas and milk
มิกซ์เจอร์ Mixtures
โลชั่น Lotions
อิมิลชัน Emulsion
เจล Gel
ประเภทยา
แบ่งตามเภสัชตำรับ
ประโยชน์ในการรักษา
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
แหล่งที่มาของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาใช้ภายนอก
ยาใช้เฉพาะที่
ยาควบคุมพิเศษ
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาอันตราย
ยาบรรจุเสร็จ
ยาแผนโบราณ
ยาสมุนไพร
ยาแผนปัจจุบัน
รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง Oiltment
ครีม Paster
เภสัชวิทยาและเภสัชกรรม
เภสัชวิทยา Pharmacology
คุณสมบัติของยา
ฤทธิ์ของยาที่มีต่อร่างกาย
เภสัชกรรม Pharmacy
การเตรียมยา
ผสมยาและจ่ายยาเพื่อรักษา
ประเภทอื่นๆ
ยาทาผิวหนัง Applcations
ยาพ่นฝอย Spray
ยาฉีด Injections
ยาดม Inhalant
ความหมายของยา
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค
วัตถุที่ดป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
ข้อดี ข้อเสียของการให้เภสัชภัณฑ์ในวิถีทางต่างๆ
ยาชนิดฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ข้อดี
ยาถูกดูดซึมได้เร็วและเกิดการระคายเคืองน้อย
สามารถใช้กับยาฉีดที่ละลายได้ในน้ำมัน
ข้อเสีย
สามารถให้ยาได้ไม่เกิน 5 มิลลิลิตร
การสะสมยาไว้ที่เนื้อเยื่ออาจทำให้การดูดซึมยาช้าลง
ยาพ่นฝอย
ข้อดี
ยาออกฤทธิ์เร็ว และสามารถให้ยาได้ด้วยตนเอง
ยาจะออกฤทธิ์เฉพาะที่
ข้อเสีย
วิธีการใช้ยาไม่สะดวก
อาจเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ยาชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อดี
การดูดซึมเป็นไปอย่างช้าๆ ให้ยาออกฤทธิ์ได้นานพอสมควร
ข้อเสีย
ยาบางชนิดระคายเคือง
บริเวณที่ฉีดทำให้เกิดแผลหรือฝีได้
ยาอมใต้ลิ้น
ข้อดี
ยาถูกดูดซึมและออกฤทธิ์ได้เร็วโดยไม่ผ่านตับ
ไม่ถูกทำลายโดยกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ข้อเสีย
ไม่สะดวกต่อการใช้ ราคาแพง
ยาอาจจะระคายเคืองเคืองเยื่อบุภายในปาก
ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ข้อดี
ออกฤทธิ์เร็ว
เหมาะกับการให้สารน้ำ สารอิเลคโตรไลท์
ข้อเสีย
เกิดพิษง่าย รวดเร็ว และรุนแรงถึงชีวิต
มีโอกาสเกิดติดเชื้อได้ง่าย
ยาเหน็บ
ข้อดี
เหมาะสำหรับเด็กที่รับประทานยายาก : ยาเหน็บทวารเพื่อลดไข้
ใช้เหน็บช่องคลอดจะออกฤทธิ์เฉพาะที่
ข้อเสีย
ไม่สะดวกต่อการใช้ ราคาแพง
อาจเกิดการติดเชื้อภายในของอวัยวะสืบพันธ์ุ
ยาชนิดรับประทานอาหาร
ข้อดี
ราคาถูก สามารถให้ได้ด้วยตนเอง
สะดวก ปลอดภัย
ข้อเสีย
ไม่เหมาะกับยาดูดซึมผ่านระบบทางเดินอาหารช้า ไม่คงตัว
ห้ามใช้ผู้ป่วยที่อาเจียน หมดสติ
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์Pharmacodynamic
Agonist : ยาที่จับกับ receptor แล้วสามารถทำให้เกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
Antagonist : ยาที่จับกับ receptor แล้วสามารถลดหรือบดบังฤทธิ์ของ agonist ในการจับ receptor
ตัวรับ Receptor
อาจพบได้ที่ผนังเซลล์ cytoplasm หรือนิวเคลียสของเซลล์
ส่วนใหญ่จะอยู่ในที่ผนังเซลล์โดยเฉพาะ receptor ของสารสื่อประสาท
Partial agonist : ยาที่จับกับreceptor แล้วออกฤทธิ์เพียงบางส่วน
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ receptor
Chemical action : ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
Physical action : ยาระบาย ยาลดการดูดซึมในกระเพาะอาหาร
คำศัพท์ทางเภสัชพลศาสตร์
Efficacy ความสามารถของยาที่ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุด
Potency : ความแรงของฤทธิ์ยา
Affinity : ความสามารถของยาในการเข้าจับกับ receptor
ปกติแล้ว efficacy สำคัญกว่า potencyในการเลือกใช้ยาเหมาะสมกับภาวะของโรค
ระดับความปลอดภัยของยา
ยาที่มี therapeutic index ต่ำจะมีความปลอดภัยต่ำ เช่น litium
ยาที่มี therapeutic index สูงจะมีความปลอดภัยในการใช้สูง
มักจะทำทดลองผ่านสัตว์ทดลอง : หนูแรท หรือหนูเมาส์
การขับถ่ายยาDrug excretion
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
Loading lose : ขนาดยาที่ให้ครั้งแรกเพื่อให้ถึงระดับยาที่ต้องการในพลาสมา
Onset : ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนเริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการ
ค่าครึ่งชีวิต Half life : เวลาที่ใช้ในการทำให้ยาหรือความเข้มข้นของยาลดลงเหลือ 50%
Duration of action : ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการจนถึงหมดฤทธิ์ที่ต้องการ
การขับถ่ายยาออกจากร่างกาย Drug Excretion
ร่างกายสามารถกำจัดยาออกได้ทางไต ตับ น้ำดี และปอด
ยาบางอย่างอาจขับออกทางอุจจาระ ทางน้ำนม และทางปอด
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
Hypersensitivity หรือ Allergic reaction การแพ้ยาจากการที่ร่างกายมี antibody ที่ต่อต้านโครงสร้างทางโมเลกุล
Tolerance เป็นการดื้อยาหรือทนฤทธิ์ของยา
Hyperactivity การตอบสนองต่อยาที่มากกว่าปกติ
Tachyphylaxis การดื้อยาที่เกิดขึ้นได้รวดเร็วเมื่อได้รับยาเพียง 2-3 ครั้ง
Hyporeactivity การตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติ ทำให้เกิดฤทธิ์รักษา
Placebo effect ฤทธิ์หลอก
Idiosyncrasy การตอบสนองที่แตกต่างจากปกติที่ไม่พบเกิดในคนส่วนใหญ่
สาเหตุการตอบสนองต่อยาที่แตกต่างกัน
มีความแตกต่างกันในความเข้มข้นของ endogenous receptor ligands
มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนกรือการทำงานของ receptor
มีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณยาที่จะไปถึง receptor จะขึ้นอยู่กับ pharmacokinetic ของยา
มีการเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบของอวัยวะที่เกิดการตอบสนองจากการกระตุ้น receptor
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
เภสัชจลนศาสตร์ Pharmacokinetic
การกระจายตัวของยา Drug distribution
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า plasma protein binding
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ มีปริมาณการไหลเวียนของเลือดสูงขึ้นได้อย่างรวดเร็ว
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
การสะสมของยาที่ส่วนอื่นๆ
การแปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา Drug metabolism
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
สิ่งแวดล้อม
อายุ
พันธุกรรม
ปฏิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolism
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย Drug adsorption
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวยา
วิธีการผลิตยา และรูปแบบยา
ขนาดยาที่ใช้ dosage
ขนาดโมเลกุลของยา
คุณสมบัติในการละลายในไขมัน lipophilic
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
พยาธิสภาพของร่างกาย : ท้องเสีย ท้องผูก
สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
วิธีการบริหารยา routes of administration
การได้รับอาหารหรือยาชนิดอื่นร่วมด้วย