Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเป็นเครื่องมือที่มนุษย์คิดค้นเพื่อช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้ในสังคมของตน
วัฒนธรรมหมายถึงวิถีชีวตการปฏิบัติและสิ่งของที่เป็นผลมาจากการสะสมถ่ายทอดจากกลุ่มบุคคลหนึ่งถ่ายทอดไปสู่รุ่นถัดไปเพื่อแสดงความเป็นเอกลักษณ์หรือเครื่องบ่งชี้ความเป็นกลุ่มชนของกลุ่มบุคคลนั้นๆ
ลักษณะพื้นฐานสำคัญของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียรู้
วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญญาลักษณ์
วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม
วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
วัฒนธรรมคือกระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตสิ่งต่างๆ
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่งมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
จำแนกวัฒนธรรมเป็น 2 ประเภท
วัฒนธรรมทางวัตถุ
สิ่งของหรือวัตถุเกิดจากความคิดประดิษฐ์ของมนุษย์เช่น ถ้วยชาม จาน ช้อน ส้อม ตึก บ้าน ถนน รูปปัน
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ
เป็นประเพณี ขนบธรรมเนียม การปฏิบัติ ที่สืบทอดกันมา เช่น ศีล ภาษา ปรัชญา ความคิด ความเชื่อ กฏหมาย
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์วัตถุ
เป็นเครื่องมือและสัญลักษณ์ ภาพเขียน สิ่งก่อสร้าง ภาษา
องค์การหรือสมาคม
วัฒนธรรมในส่วนของการจัดระเบียบเป็นองค์การหรือสมาคมเช่น สหภาพ สมาคม ชมรม บริษัท
องค์มติหรือมโนทัศน์
ความคิด ความเชื่อ บาปบุญ กฎแห่งกรรม พระเจ้า
องค์พิธีหรือพิธีการ
พิธีรับขวัญเด็ก โกนจุก บวชนาค แต่งงาน งานศพ มารยาททางสังคม
ความสำคัญของวัฒนธรรม
เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
มีฟฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน
ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
ทำให้เข้าใจความเป็นอยู่ค่านิยมของสังคม
มนุษย์มีสภาวะแตกต่างจากสัตว์
เป็นเครื่องกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสัคม
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต
ความเชื่อหมายถึง การยอมรับคำอธิบายเหตุการณ์หรือปรากฏการณืหนึ่งๆที่บุคคลได้จากการรับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคมและถ่ายทอดสืบต่อกันมา
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อในสื่งที่ปรากฏอยู่จริง
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
ความเชื่อแบบประเพณี
ความเชื่อแบบทางการ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
ปัจจัยทางสัคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางด้านบุคคล
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติ
ความเจ็บป่วยเกิดจากการกระทำของผีจากเวทมนต์คุณไสยความเจ็บป่วยที่เกิดจากขวัญ
การดูแลจะเป็นพิธีกรรมผู้ให้การดูแลคือหมอดู หมอสะเดาะเคราะห์ กลุ่มหมอธรรม กลุ่มหมอตำรา
ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเจ็บป่วยเกิดจากขาดสมดุลธาตุ สภาพภูมิอากาศ การบริโถคของแสลง เกิดจากเชื้อโรค
มีการทำพิธีตั้งขันข้าวก่อนทำการวินิจฉัยโรค การรักษา หมอสมุนไพร หมอเป่า หมอกระดูกหรือหมอน้ำมัน หมอนวด หมอตำแย
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ
การเจ็บป่วยเกิดจากเชื่อโรคจากพันธุกรรม จากพฤติกรรม สิ่งแวดล้อม
แพทย์จะเป็นคนรักษา
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
แบบพื้นบ้าน
ระยะตั้งครรภ์ คนโบณาณเชื่อว่าเป็นความสัมพันธ์ของมนูษย์และดวงดาว
ระยะคลอด ความเป็นสิริมงคล ท่าทางการคลอด
ระยะหลังคลอด ความเชื่อเรื่องผี และสมดุลธาตุ 4 มีการอยู่ไฟ ประคบสมุนไพร
ความชราเกิดจากการแปรปรวนของธาตุลม
ดูแลโดยการทานสมุนไพรบำรุง
ความตายมีความเชื่อเรื่องวิญญาณ การเวียนว่ายตายเกิด ชาติภพ
แบบแพทย์ตะวันตก
การตั้งครรภ์คือภาวะที่มีตัวอ่อนในมดลูก
ความชราอายุ60-65 ปีขึ้นไป
ดูแลด้านโภชนาการ การผักผ่อน อุบัติเหตุ ด้านจิตใจ
การตายคือการหยุดทำงานของหัวใจ
ค่านิยมทางสังคม
ศาสนา
สังคมวัยรุ่นกลุ่มเพื่อน
โรงเรียน
สื่อมวลชน
ครอบครัว
องค์การของรํฐบาล
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมดูแลสุขภาพ
ป้องกันไม่ให้เกิดความเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลสุขภาพเมื่อป่วย
ส่งเสริมสุขภาพให้ปราศจากโรคภัยไข้เจ้บ
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพแบ่งเป็น 2 ลักษณะ
วัฒนธรรมดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
ป้องกันโรค
ส่งเสริมสุขภาพ
วัฒนธรรมดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
รักษาโรค
ฟื้นฟูสมรรถภาพ
ความสัมพันธืระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
knowledge
encounter
skill
desire
ความสัมพันธืระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ไม่ได้ให้ประโยชน์ ห้ามกินกล้วยแฝด
ไม่แน่ใจว่าให้คุณหรือโทษ การให้เด็กกินดิน
ส่งเสริมสุขภาพ ให้ทารกทานนมแม่นาน 2 ปี ห้ามหญิงหลังคลอดบริโภคน้ำดิบ
ให้โทษ การทานอาหารสุกๆดิบๆ
แนวทางการดูแลสุขภาพที่เกิดขึ้นเป็นวัฒนธรรมของการดูแล
การดูแลสุขภาพภาคพื้นบ้าน
การดูแลสุขภาพภาคประชาชน
การดูแลสุขภาพภาควิชาชีพ