Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
บทที่6ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Shock
ประเภท
Low cardiac output shock (Hypodynamic shock)
Cardiac output ต่ำ diastolic blood pressure สูง และ Pulse pressure แคบทำให้ Systemic vascular resistance (SVR) สูง
Obstructive shock
Cardiogenic shock
Hypovolemic shock
High cardiac output shock (Distributive shock, hyperdynamic shock)
cardiac output สูง Diastolic blood
pressure ต่ำและ Pulse pressure กว้าง ทำให้ Systemic vascular resistance (SVR) ต่ำ
1) Septic shock
2) Anaphylactic shock
3) Endocrinologic shock ได้แก่ Adrenal crisis, thyroid storm
4) Neurogenic shock
5) Drug and toxin
6) อื่นๆ เช่น Post-resuscitation syndrome
การแปลผลความดันโลหิต :
ถ้าค่า SBP สูง แสดงว่า Systolic function ดี
ถ้าค่า SBP ต่ำ แสดงว่าไม่ดี
ถ้าค่า DBP สูง แสดงว่า Afterload สูง
ถ้าค่า DBP ต่ำ แสดงว่า Afterload ต่ำ
Shock management
การรักษาจำเพาะ (Specific treatment)
การรักษาประคับประคอง (Supportive treatment)
Airway: กรณีที่มี Upper airway obstruction
ควรทำการเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
Breathing: ในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย
Circulation: พิจารณาการให้สารน้ำหรือ Vasopressors / inotropes
Fluid therapy
มีประโยชน์ในช็อก
Hypovolemic shock
Right side cardiogenic shock
Obstructive shock
Distributive shock (High cardiac output shock)
ตำแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ำ
ควรเลือกเส้นเลือดดำที่เป็น Peripheral vein มากกว่าการให้สารน้ำผ่านทาง Central venouscatheter
ควรใช้ขนาดเข็มที่ให้สารน้ำ No. 16 หรือ No. 18
ให้สารน้ำได้ 2 ประเภท
Crystalloids
Normal saline
Volume overload, Hypernatremia, Hyperchlorermic metabolic acidosis,
Ringer's lactate solution และRinger'sacetate solution
Volume overload, Lactic acidosis, Hyperkalemia, Hypercalcemia
colloids
Anaphylactic / anaphylactoid reaction
Renal toxicity อาจทำให้เกิด Acute kidney injury
Coagulopathy/platelet dysfunction
Vasoactive drug
Positive inotropic effect เป็นฤทธิ์ที่ทำให้การบีบตัวของหัวใจดีขึ้น
Positive chronotropic effect เป็นฤทธิ์ที่ทำให้อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น
Vasopressor effect เป็นฤทธิ์ที่ทำให้ความต้นทานของหลอดเลือดส่วนปลาย
resistance, SVR) เพิ่มขึ้น ทำให้ Afterload เพิ่มขึ้น
Hypertensive crisis
ชนิด
Hypertensive crisis
เกิดเฉียบพลันสูงกว่า180/120 มม.ปรอท
และทำให้เกิดการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย (TOD)
Hypertensive emergency
สูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท ร่วมกับมีการทำลาย
ของอวัยวะเป้าหมาย
Hypertensive urgency
สูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการของอวัยวะเป้าหมายถูกทำลาย
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันท
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
อาการและอาการแสดง
hypertensive encephalopathy จะมีอาการ
ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
การซักประวัติ
โรคประจำตัว
ยา
การสูบบุหรี่
ประวัติครอบครัวเป็นHT
สอบถามอาการของอวัยวะที่ถูกผลกระทบจากHT
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา น้ าหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว รวมถึงตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
CBC
MAHA
Creatinine
eGFR
12-lead ECG
chest Xray
การรักษา
รักษาทันทีใน ICU และให้ยาลดความดันโลหิตชนิดหยดเข้าหลอดเลือดดำ
การพยาบาล
ระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents ได้แก่ sodium nitroprusside
เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด
neurologic,
cardiac, and renal systems
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการท ากิจกรรม
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วย
Cardiac arrhythmias
VT
การพยาบาล
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันทีและเปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้ยาและสารน้ำ
2.2. คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ประเมิน
ภาวะเลือดไปเลี้ยงสมอง และอวัยวะสำคัญลดลง
3.ดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
4.VT และคลำชีพจรให้เตรียมผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
VT และคลำชีพจรไม่ได้ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator
CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
อาการ
เกิดทันทีผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจล าบาก หัวใจหยุดเต้น
ประเภท
Nonsustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที
Monomorphic VT คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT หรือ Torsade คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง
โรคหัวใจรูห์มาติก
ถูกไฟฟ้าดูด
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
Digitalis toxicity
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
VF
อาการและอาการแสดง
เกิดทันทีคือ หมดสติไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้และเสียชีวิต
สาเหตุ
เช่น Hypovolemia, Hypoxia ,Tension pneumothorax, Cardiac tamponade, Pulmonary thrombosis
การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมและทำ CPR ทันที
Pulseless VT สิ่งที่สำคัญคือ การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันทีและการกดหน้าอก
AF
ประเภท
Paroxysmal AF หมายถึง AF ที่หายได้เองภายใน 7 วัน
Persistent AF หมายถึง AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน
Permanent AF หมายถึง AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปี
Recurrent AF หมายถึง AF ที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Lone AF หมายถึง AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี
สาเหตุ
นโรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจรูห์มาติก ภาวะหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery), hyperthyrodism
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาหากมีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง (Radiofrequency Ablation)
อาการ
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
Acute Heart Failure (AHF)
สาเหตุ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ (Myocardial disease)
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ (Valvular heart disease)
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ (coronary artery disease)
ความผิดปกติแต่กำเนิด (Congenital heart disease)
อาการและอาการแสดง
บวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่าง กดบุ๋ม
อ่อนเพลีย (Fatigue)
อาการเหนื่อย (Dyspnea)
เหนื่อยขณะที่ออกแรง (Dyspnea on exertion)
หายใจไม่สะดวกขณะนอนราบ (Orthopnea)
หายใจไม่สะดวกขณะนอนหลับและต้องตื่นขึ้น
(Paroxysmal nocturnal dyspnea, PND) PND
แน่นท้อง ท้องอืด คลื่นไส้เบื่ออาหาร
ชนิด
แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
Low-output heart failure
หัวใจบีบเลือดออกจากหัวใจได้น้อยลง
Acute heart failure
อาการเกิดขึ้นใหม่อย่างรวดเร็ว
หรือมีภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีอาการคงที่
แต่กลับแย่ลงในเวลาไม่นาน
มีภาวะหัวใจล้มเหลวมาก่อนแต่มีอาการเลวลง
ผู้ป่วยที่มีกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
Chronic heart failure
เป็นมาก่อนหรือไม่ก็ได้
มีการทำงานที่ผิดปกติไปของหัวใจคงอยู่เป็นเวลานาน
High-output heart failure
ร่างกายต้องการปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจมากกว่าปกติ
การทำงานของหัวใจอาจจะปกติได้
ไทรอยด์เป็นพิษ ซีด ภาวะขาดวิตามินบี1
แบ่งตามอาการและอาการแสดง
Left sided-heart failure
Orthopnea
เกิดจากความดันในหัวใจห้องบนซ้ายหรือห้องล่างซ้ายสูงขึ้น
Paroxysmal nocturnal dyspnea (PND)
Right sided-heart failure
อาการบวม ตับโต
อาการที่ตรวจพบ
หัใจพบเสียง S3 หรือ S4 gallop หรือ Cardiac murmur
Cardiac wheezing
มีApex beat
ตับโต, Ascites
Jugular vein distention
บวมกดบุ๋ม
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia) หายใจเร็ว (Tachypnea)
การวินิจฉัย
Electrocardiography
CBC, BUN, creatinine
Chest X-ray
Liver function test
Echocardiography
แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา
3.ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยและวัดปริมาตร Intake และ output ทุกวัน
4.ติดตามค่า BUN, creatinine)
2.ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำชนิด Loop diuretic
5.พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ แต่ไม่ได้ให้ทุกราย
6.พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด ได้แก่ Sodium nitroprusside หรือ Nitroglycerine
1.ประเมินหาสาเหตุหรือปัจจัยกระตุ้นภาวะหัวใจ
ล้มเหลว
7.ให้ Tolvaptan (V2-receptor antagonist) ในระยะเวลาสั้น (ไม่เกิน 1-2 สัปดาห์) ในผู้ป่วยซึ่งมีภาวะคั่งน้ำและภาวะซีรั่มโซเดียมต่ำ
9.พิจารณาการสวนหัวใจเพื่อวัดความดันโลหิต
10.ไม่ควรใช้การสวนหัวใจห้องขวาเพื่อวัดความดัน
11.ให้ Oxygen supplement ในรายที่Oxygen saturation น้อย
กว่าร้อยละ 90
12.แนะนำ Noninvasive ventilation
13.พิจารณา Mechanical circulatory support device (MCSD) ในผู้ป่วยที่มีภาวะช็อค
บทบาทพยาบาล
อาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น
ไม่มีภาวะน้ำเกินหรือขาดน้ำ
ได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหตุ
ได้รับการค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้อาการกำเริบ
การพยาบาล
2.จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา หรือนั่งฟุบบนโต๊ะข้างเตียง
3.ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้ Bed rest โดยช่วยเหลือทำกิจกรรมให้ผู้ป่วย
ในระยะที่ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อย
4.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและมีการติดตามประเมินผลของยา
5.ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
6.จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษา
7.ประเมินความรู้สึกและปัญหาต่างๆพร้อมทั้งซักถามความต้องการ
8.ประเมินความพร้อมในการรับรู้ข้อมูลของผู้ป่วย ญาติ