Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ
1.วงจรการติดเชื้อ
1.1 เชื้อก่อโรค (Infectious agent
1) แบคทีเรีย
2) โปรโตซัว
3) เชื้อรา
4) ไวรัส
5) พยาธิ
2 แหล่งกักเก็บเชื้อโรค (Reservoir)
เชื้อโรคแต่ละชนิดจะเจริญเติบโตได้ดีในแหล่งเชื้อโรคเฉพาะ
สามารถแพร่กระจายเชื้อไปสู่คนอื่นได้เรียกว่า Carrier
3 ทางออกของเชื้อ (Portal of exit)
ชื้อจุลชีพออกจากร่างกายของคนซึ่งเป็นโรคได้หลาย ทาง
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบ ทางเดินปัสสาวะ
โรค บางชนิดที่เชื้อโรคออกจากร่างกายผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อจากการที่แมลงกัดและดูดเลือดไปกัดผู้อื่น
.4 หนทางการแพร่กระจายเชื้อ (Mode of transmission)
วิธีการแพร่กระจายที่แตกต่างกัน
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนํา
การสัมผัส
5 ทางเข้าของเชื้อ (Portal of entry)
พบบ่อย
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ทางเดินหายใจ
ผิวหนังที่ฉีดขาด
6 ความไวในการรับเชื้อของบุคคล (Susceptible host)
เชื้อจุลชีพเข้าไปใน ร่างกายและจะทําให้บุคคลติดเชื้อง่ายหรือยากขึ้นอยู่กับลักษณะของเชื้อจุลชีพ
3 การติดเชื้อในโรงพยาบาล
1 องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
1) เชื้อโรค
เชื้อ MRSA
Pseudomonas aeruginosa
2) คน
เด็กเล็กที่มีภูมิต้านทานยังพัฒนาไม่เต็มที่
ผู้สูงอายุ
3) สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมผู้ป่วยในโรงพยาบาลครอบคลุม
สถานที่
เครื่องมือ เครื่องใช้
อาคาร
บุคลากรในโรงพยาบาล และญาติที่มาเยี่ยม
2 การแพร่กระจายเชื้อ
1) การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส (Contact transmission)
(1) การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง (Direct–contact transmission)
(2) การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยอ้อม (Indirect–contact transmission)
2) การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง (Droplet spread)
3) การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne transmission)
4) การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนํา (Vehicle transmission)
5) การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ (Vector-Borne transmission)
4 การทําลายเชื้อ และการทําให้ปราศจากเชื้อ
1 การทําลายเชื้อ (Disinfection)
3) การใช้สารเคมี
(6) การสวนล้างช่องคลอดใช้ Cetrimide 15% + Chlorhexidine 1.5% เจือจาง 1:100 หรือ Chloroxylenol 1:100 หรือ 1:200
2) การต้ม
(7) การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัดใช้ Iodophor 10%
การทําลายเชื้อระดับสูง (High-level disinfection)
การทําลายเชื้อระดับกลาง (Intermediate-level disinfection)
การทําลายเชื้อระดับต่ํา (Low-level disinfection)
1) การล้าง
4) การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ จําแนกตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน
(2) การล้างมือก่อนทําหัตถการ (Surgical handwashing)
(3) การเตรียมผิวหนัง
(1) การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
(4) การทําแผล
(5) การทําความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอดหรือก่อนการตรวจภายใน
2 การทําให้ปราศจากเชื้อ (Sterilization)
1) วิธีการทางกายภาพ (Physical method)
(1) การใช้ความร้อน (Thermal or Heat sterilization)
การใช้ความร้อนแห้ง (Dry heat)
การต้ม (Boiling)
การเผา (Incineration)
การใช้ความร้อนชื้น (Moist heat)
(2) การใช้รังสี (Ionizing radiation)
2) วิธีการทางเคมี (Chemical method)
(1) การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas (EO)
Formaldehyde ที่ความเข้มข้น 37% หรือที่เรียกว่า ฟอร์มาลิน (Formalin)
(2) การใช้ High-level disinfectant
6 กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
2 การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ประเมินมาแล้วนําข้อมูลที่ได้มากําหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1) เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
2) มีโอกาสเกิดการระบาดของโรคในชุมชน
3 การวางแผนและให้การพยาบาล (Planning and Implementation)
เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
2) ใช้หลัก Airborne precautions
3) ให้คําแนะนําการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยและญาติ
1) ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาลผู้ป่วย
4) รายงานอุบัติการณ์การเฝ้าระวังการเกิดโรคต่อคณะกรรมการการติดเชื้อของ โรงพยาบาล
1 การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย (Assessment)
การรักษาที่ได้รับ
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจร่างกายเกี่ยวกับโรคของผู้ป่วย
การซักประวัติ
4 การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
1) ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสู่ญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย
2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
1 ความเครียด (Stress)
ความไวต่อการติดเชื้อได้ง่าย กว่า
คนที่เพิ่งฟื้นจากการผ่าตัดใหม่ๆ ย่อมรับการติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนที่มีสุขภาพแข็งแรง
6 เพศ
โรคบางชนิดพบมากในแต่ ละเพศไม่เท่ากัน
โรคปอดบวมในผู้ชายมากกว่า
โรคอีดําอีแดงในผู้หญิงมากกว่า
7 กรรมพันธุ
บางคนขาดสาร Immunoglobulin ซึ่งเป็นตัวการสําคัญในการสร้าง ภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย
5 โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
อาการแพ้ต่าง ๆ หรือมีโรคเรื้อรัง
ความต้านทานต่ํากว่า
การต่อสู้กับเชื้อโรคที่รุกรานเข้ามาน้อยลง
4 ความร้อนหรือเย็น
ได้รับความร้อนหรือเย็นจัดจนเกินไป
ลดจํานวนเลือดที่ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อพื้นผิวและกดการ สร้างแอนติบอดี
จะไป ลดการเคลื่อนไหวของขนอ่อนในระบบทางเดินหายใจ
8 อายุ
เด็กมีความไวต่อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่
3 ความอ่อนเพลีย
พักผ่อนไม่เพียงพอ
คนที่ทํางานหนักเกินไป
9 การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
คนที่ได้รับการรักษา ด้วยการฉายรังสี
2 ภาวะโภชนาการ
รับอาหารครบถ้วนความไวต่อการติดเชื้อจะน้อยกว่าคนที่ขาด อาหาร
เชื่อกันว่าโปรตีนเป็นสารอาหารที่ช่วยในการสร้างเนื้อเยื่อ
ช่วยให้เนื้อเยื่อเจริญเติบโต
10 อาชีพ
ลดประสิทธิภาพของกลไกการ ป้องกันตนเอง
คนเลี้ยงนกพิราบมีโอกาสติดเชื้อไวรัส H1N1
5 การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
1 Standard precautions
2) สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
(1) ถุงมือ
ถุงมือปราศจากเชื้อ ใช้เมื่อจะหยิบ จับ เครื่องมือที่ปราศจากเชื้อ
ถุงมือสะอาด ใช้เมื่อจะหยิบ จับ สิ่งของสกปรก น่ารังเกียจ มีสารพิษ
(2) เสื้อคลุม ใช้เมื่อจะสัมผัสกับสิ่งที่มีเชื้อโรค
(3) ผ้าปิดปากและจมูก
1) ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
(1) การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
(2) การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วย
(3) การล้างมือก่อนทําหัตถการ (Surgical hand washing)
(4) การใช้ Alcohol hand rub ทดแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน
3) หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
7) หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน โดยเฉพาะถูกเข็มที่ใช้กับผู้ป่วยตํา
4) ทําความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
5) บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและการ สัมผัสกับสารคัดหลั่ง
6) ทําความสะอาดและทําลายเชื้อ หรือทําให้ปราศจากเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ทุกชิ้นที่ใช้กับผู้ป่วยแล้ว
2 Transmission-base precautions
1) การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne precautions)
(2) ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
(1) แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ (Isolation) และปิดประตูทุกครั้ง หลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
(3) อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรงหรือผ่านเครื่องกรองที่มี ประสิทธิภาพ ห้องแยกควรมีการหมุนเวียนอากาศอย่างน้อย 6 รอบต่อชั่วโมง
(4) ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
(5) จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ในกรณีความจําเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้อง ให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดใช้แล้วทิ้ง (Disposable mask)
2) การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ํามูกน้ําลาย (Droplet precautions)
(3) หากไม่มีห้องแยกและไม่สามารถจัดให้ผู้ป่วยอยู่รวมกันได้ ควรจัดระยะห่างระหว่าง เตียง ไม้น้อยกว่า 3 ฟุต
(4) ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ปวย่หรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก เมื่อให้การดูแล ผู้ป่วยในระยะ 3 ฟุต
(2) ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
(5) จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจําเป็นควรให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดชนิดใช้แล้วทิ้ง (Disposable mask)
(1) แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผูป่วย
3) การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact precautions
(3) สวมเสื้อคลุม หากคาดว่าอาจสัมผัสเลือด สารคัดหลั่ง หนอง อุจจาระของผู้ป่วย
(4) จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจําเป็นต้องเคลื่อนย้าย ต้องระมัดระวังไม่ให้เกิด การแปดเปื้อนเชื้อในสิ่งแวดล้อม
(2) ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมน้ํายาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
(5) หากสามารถทําได้ควรแยกอุปกรณ์ชนิด Non-critical items สําหรับผู้ป่วย โดยเฉพาะ หากไม่สามารถแยกอุปกรณ์ได้ต้องทําความสะอาดและทําลายเชื้อก่อนนําไปใช้กับผ้ป่วยรายอื่น
(1) สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย และเปลี่ยนถุงมือคู่ใหม่เมื่อสัมผัสสิ่งคัดหลั่งหรือ ส่วนของร่างกายที่น่าจะมีเชื้อโรคจํานวนมากขณะให้การพยาบาลผู้ป่วยรายเดิม
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
3) สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่ ควรให้สะอาดและแห้ง ไม่เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคหรือที่อยู่
(1) การทําลายขยะ ขยะพวกที่เป็นเลือด หนอง หรือน้ําสามารถเทลงโถส้วมได
(2) การแยกขยะในโรงพยาบาล
ขยะทั่วไป แยกเป็นขยะแห้งและขยะเปียก ใส่ถุงสีดํา
ขยะเป็นพิษ เช่น แท่งแก๊ส โซดาลามของงานวิสัญญี ถ่านไฟฉาย อุปกรณ์ที่ใช้ในการ ให้เคมีบําบัด เป็นต้น
ขยะที่นํากลับไปใช้ใหม่ (Recycle) ใส่ถุงสีขาว
ขยะติดเชื้อ ใส่ถุงสีแดง
4) การทําลายเชื้อและการทําให้ปราศจากเชื้อต้องกระทําอย่างถูกต้อง
2) ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย ควรจะแยกจากแหล่งของเชื้อโรค
5) การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน
6) การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
7) การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล
1) กําจัดเชื้อโรค