Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกัน และการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกัน และการควบคุมการติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
การติดเชื้อ (Infection)
เกิดขึ้นเมื่อเชื้อโรค (Microorganisms) เข้าสู่ร่างกาย
ร่างกายมีการสร้างภูมิคุ้มกัน (Immune response)
ไม่แสดงอาการ " Inapparent infection "
มีอาการ เรียกว่า " Infectious disease "
ต้องมีวงจรการติดเชื้อที่ครบวงจร
การตัดวงจรการติดเชื้อ
การทำลาย หรือ ลดแหล่งของเชื้อโรค
องค์ประกอบที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ
เชื้อก่อโรค (infectious agent)
แบคทีเรีย
กรัมบวก (Gram positive)
กรัมลบ (Gram negative)
โปรโตซัว
เชื้อรา
ไวรัส
พยาธิ
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค (Reservoir)
เป็นตัวกระตุ้นให้เชื้อโรคเจริญเติบโต และ ขยายตัว
คนหรือสัตว์ที่มีเชื้อก่อโรคอยู่ในตัวและไม่แสดงอาการ แจ่แพร่ไปยังบุคคลอื่นได้ เรียกว่า "Carrier"
ทางออกของเชื้อ (Portal of exit)
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบสืบพันธุ์
ระบบทางเดินปัสสาวะเชื้อที่อยู่บนแผลที่ผิวหนัง
ทางสายสะดือ
แมลงกัด หรือ ดูดเลือดไปกัดผู้อื่น
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ (Mode of transmission)
สามารถแพร่กระจายได้หลายทาง
การสัมผัส
การหายใจ
แพร่กระจายเชื้อโดยมีตัวนำ
ทางเข้าของเชื้อ (Portal of entry)
มักเกิดขึ้ืนทางเดียวกับทางออก
แหล่งที่พบได้บ่อยๆ
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีกขาด
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล (Suseptible host)
มักขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของเชื้อจุลชีพ
ธรรมชาติของเนื้อเยื่อที่ได้รับ
สุขภาพทั่วไปของแต่ละคน
ภูมิคุ้มกันโรค
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการติดเชื้อ
ความเครียด
มีความไวต่อการติดเชื้อ
ภาวะด้านโภชนาการ
รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ จะไวต่อการติดเชื้อได้น้อยกว่า
รับประทานโปรตีน
ช่วยสร้าง และ ให้เนื้อเยื่อเจริญเติบโต
คนที่ขาดโปรตีน จะเป็นภาวะทุพโภชนาการ มีโอกาสติดเชื้อโรคต่างๆได้ง่าย
ความอ่อนเพลีย พักผ่อนให้เพียงพอ
การได้รับความร้อนและเย็นจัดเกินไป
ได้รับความเย็นจัด
ลดการเคลื่อนไหวของขนอ่อนในระบบทางเดินหายใจ
ลดจำนวนเลือดที่ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อพื้นผิวและกดการสร้างแอนติบอดี
มีความสามารถในการต่อต้านเชื้อโรคน้อยลง
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
มีภูมิต้านทานต่ำกว่าคนปกติ
เพศ
กรรมพันธุ์
อายุ
อาชีพ
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
การฉายแสง
การรับยาที่กดการสร้างภูมิคุ้มกัน
การติดเชื้อในโรงพยาบาล (Nosocomial Infection, NI)
เป็นผลมาจากการที่ผู้ป่วยได้รับเชื้อจุลชีพขณะอยู่ในโรงพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงของการติดเชือนัมาก่อนแต่อาจแสดงอาการให้เห็นในขณะรับการรักษาอยู่ในโรงพยาบาล
ไม่ได้อยู่ในระยะฟักตัวของเชือโรคนันๆ ขณะเริมเข้ารับการรักษา แต่อาการแสดงในช่วงระยะฟักตัวของโรค เมือออกจากโรงพยาบาลแล้ว
ไม่ทราบระยะฟักตัวของเชือ แต่ปรากฏอาการหลังจากเข้ารับการ รักษาตัวในโรงพยาบาล. 48 ชัวโมง
ได้รับจากการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลครั้งก่อน พิจารณาระยะฟักตัวของเชื้อเป็นหลัก
ติดเชือชนิดใหม่ทีตําแหน่งเดียวกับการติดเชือเดิม หรืออาจติดเชือเดิม แต่เกิดทีตําแหน่งใหม่
องค์ประกอบในการติดเชื้อ
เชื้อโรค (agent)
เชื้อประจำถิ่น หรือ เชื้อทีพบบนร่างกายผู้ป่วยเอง (normal flora หรือ colonization)
ส่วนมากพบเชื้อแบคทีเรียกรัมลบทรงแท่ง (gram negative bacilli)
Pseudomonas, Enterobacter และ Acinetobacter ทำให้ดื้อยา
ความแข็งแรง หรือ ภูมิต้านทานโรค
คน/ผู้ป่วย (Host)
ภูมิต้านทานโรคต่ำ
ภาวะทุพโภชนาการ
ผ่าตัด
สิ่งแวดล้อม (Environment)
สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต (animate)
สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต (in animate)
การแพร่กระจายเชื้อ (Mode of Transmission)
การแพร่กระจายเชือโดยการสัมผัส (Contact Transmission)
พบบอยที่สุด
โดยตรง Direct contact transmission
จากคนสู่คน (person-to-person spread)
สัมผัสแหล่งโรค เลือดหรือสารคัดหลังมือมีบาดแผล แล้วไปสัมผัสผู้ป่วย/บุคคลไวต่อการรับเชือ
ทางอ้อม Indirect contact transmission
เชื้อเข้าสู่ร่างกายโดยผ่านตัวกลาง
สัมผัสกับสิงของหรือ อุปกรณ์การแพทย์ทมีเชือ ปนเปือนอยู่
การแพร่กระจายเชือโดยฝอยละออง (Droplet spread)
จากการสัมผัสกับฝอยละอองนํามูก นําลายของผู้ทมีเชืออยู่
ไอ จาม พูด
กิจกรรมการพยาบาล : ดูดเสมหะ ตรวจหลอดลม
การแพร่กระจายเชือทางอากาศ (Airborne transmission)
การสูดหายใจเอาเชือทีลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ระบบทางเดิน หายใจ
เชือจุลชีพจะอยู่ในรูปของ droplet nuclei
เชื้อสุกใส(Varicella virus) งูสวัด (Herpes Zoster) เชือวัณโรค (Tubercle bacillus) หัด (measles)
การแพร่กระจายเชือโดยการผานสื่อนํา (Vehicle transmission)
เชื้อจุลชีพปนเปือนอยู่ในเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหาร นํา ยา สารนําทีให้แก่ผู้ป่วย
ทําให้เกิดการติดเชือในผู้ป่วยหลายราย
การติดเชือ Salmonella ในอาหาร
การแพร่กระจายเชือโดยสัตว์พาหะ (Vector-borne transmission)
เป็นการแพร่กระจายเชือโดยแมลง หรือสัตว์นําโรค
คนได้รับเชือจากการถูกแมลงหรือสัตว์กัด และเชือทีมีอยู่ในตัว แมลงถูกถ่ายทอดสู่คน
การทำลายเชื้อ และทำให้ปราศจากเชื้อ
การทําลายเชือ (Disinfection)
การกําจัดเชือจุลชีพบางชนิดทีแปดเปือน อุปกรณ์เครืงมือ เครืองใช้ ทางการแพทย์หรือพืนผิวต่างๆ
Disinfectants (นํายาทําลายเชือ) : สารเคมีทีใช้ทําลายเชือบน เครืองมือหรือบนพืนผิว
Antiseptics : สารเคมีทีใช้ทําลายเชือทีผิวหนังและส่วนต่างๆ ของ ร่างกาย
การทำลายเชื้อโรค
การล้าง
การต้ม
การใช้สารเคมี
การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
ระดับการทําลายเชือ (Disinfection)
การทําลายเชือระดับสูง (High-level disinfection)
ทําลายจุลชีพก่อโรคได้ทุกชนิด รวมทังสปอร์ของเชือแบคทีเรีย เมือแช่อุปกรณ์ในนํายานานตามข้อกําหนด
นํายาทําลายเชือในกลุ่มนีสาารถทําลายเชือในอุปกรณ์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพในเวลารวดเร็ว
ฤทธิในการทําลายสปอร์ของเชือแบคทีเรียของนํายาประเภทนีขึนอยู่ กับสารเคมีทีใช้และวิธีการใช้
การทําลายเชือระดับกลาง (Intermediate-level disinfection)
สามารถทําให้เชือ Mycobacterium tuberculosis เชือแบคทีเรีย เชือ ไวรัส และเชือรา อ่อนกําลังลงจนไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์แต่ไม่ สามารถทําลายสปอร์ของเชือแบคทีเรียได้
แอลกอฮอล์(70-90% ethanol หรือ isopropanol) chlorine compounds และ phenolic หรือ iodophor บางชนิด
วิธีการ Pasteurization
การทําลายเชือระดับตํา (Low-level disinfection)
สามารถทําลายเชือแบคทีเรีย เชือไวรัส และเชือราบางชนิด แต่ไม่ สามารถทําลายเชือทีมีความคงทน
เหมาะกับอุปกรณ์ประเภท Noncritical items
Quaternary ammonium compounds, iodophors หรือ phenolic บางชนิด
การทําให้ปราศจากเชือ (Sterilization)
กระบวนการในการทําลายหรือขจัดเชือจุลชีพทุกชนิดรวมทัง
สปอร์ของเชือแบคทีเรียจากเครืองมือทางการแพทย์
วิธีการทําให้อุปกรณ์ปราศจากเชือ
วิธีการทางกายภาพ (Physical method)
การใช้ความร้อน (Thermal or Heat sterilization)
การใช้ความร้อนชืน (Steam under pressure หรือ moist heat)
การนึงไอนําภายใต้ความดัน (autoclave) เป็นวิธีการทมี ประสิทธิภาพทีสุด
ระยะเวลาทีนึงจะขึนอยู่กับอุณหภูมิและความดัน หากอุณหภูมิ สูงขึน ความดัน
การใช้ความร้อนแห้ง (Hot air หรือ dry heat)
บรรจุอุปกรณ์ในเตาอบ (Oven) โดยใช้อุณหภูมิ160-180 องศาเซลเซียส นาน 1-2 ชัวโมง
เหมาะสําหรับอุปกรณ์ประเภทแก้วและโลหะ
การเผา (Incineration) ใช้ในการทําลายอุปกรณ์ทีจะไม่นํากลับมาใช้อีกต่อไป
การต้ม (Boiling)
ต้มในนําเดือด 100 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที
สามารถทําลายเชือแบคทีเรียได้ทุกชนิดและเชือไวรัสได้เกือบ
ทุกชนิด
ไม่ใช่วิธีการทําให้ปราศจากเชือทีเชือถือได้แน่นอน
Ionizing radiation
วิธีการทางเคมี(Chemical method)
การใช้แก๊ส ได้แก่Ethylene oxide gas, Formaldehyde gas และ Hydrogen peroxide plasma
การใช้chemical sterilant คือ high-level disinfectant
การเก็บรักษาห่ออุปกรณ์ทีผ่านกระบวนการทําให้ปราศจากเชือ
เก็บไว้ในตู้มีฝาปิดมิดชิด ไม่มีแมลงหรือสัตว์เข้าไปรบกวน
ควรวางอย่างเป็นระเบียบ ไม่ควรเอายางรัดไว้ด้วยกัน
การควบคุมการแพร่กระจายเชือ
การปฏิบัติเพือป้องกันมิให้เชือจุลชีพจากผู้ป่วยทีมีการติดเชือ หรือผู้ป่วยทมีเชืออยู่แต่ไม่ปรากฏอาการ (carrier) แพร่ไปสู่ ผู้ป่วยอืน
หลัก Standard precautions
การนําแนวปฏิบัติของ Universal precautions และ Body substance isolation มาใช้ดูแลผู้ป่วยทุกรายทีเข้ารับการรักษา ในโรงพยาบาล ไม่ว่าผู้ป่วยจะมีการติดเชือหรือไม่หรือได้รับการ วินิจฉัยว่าป่วยเป็นโรคใด
เลือด สารนํของร่างกาย สารคัดหลังทุกชนิด อุจจาระ ปัสสาวะ
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบูหรือสบู่ยาฆ่่าเชือทุกครัง
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
ฟอกมือด้วยนํากับสบู่
นานอย่างน้อย 10 วินาที
การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิงปนเปือนเชือโรค (Hygienic hand washing)
เป็นการทําความสะอาดมือเพือขจัดเชือจุลชีพทีอยู่บนมือ
ถูมือด้วยนํายาทําลายเชือ (Antiseptic) นาน 30 วินาที
การล้างมือก่อนทําหัตถการ (Surgical hand washing)
ฟอกมือด้วย Antisepticทีมือจนถึงข้อศอก เป็ นเวลา2-6นาที
การใช้ Alcohol hand rubs
ทดแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน
กรณีทีมือไม่ได้เปือนสิงสกปรก เลือดหรือสารคัดหลัง
ใช้แอลกอฮอล์3-5 มล. ใส่ฝ่ามือแล้วลูบให้ทัวฝ่ามือ หลังมือและนิวมือ จนกระทังแอลกอฮอล์ระเหยจนแห้ง (15-30 วินาที)
สวมเครืองป้องกันเมือคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลังผู้ป่วย
ใส่ผ้าปิดปาก-จมูกและแว่นป้องกันตาทุกครัง
สวมถุงมือทุกครังในการให้การพยาบาลผู้ป่วย และขณะ ปฏิบัติงานซึงอาจจะมีโอกาสทีจะมีการสัมผัสเลือด สารนําหรือสาร คัดหลังของผู้ป่วย
สวมเสือคลุมหรือผูกผ้ากันเปือนทุกครังทีคาดว่จะมีการ กระเด็นของเลือดหรือสารคัดหลัง
การปฏิบัติตามหลัก Standard precautions
หยิบจับอุปกรณ์ทีมีคมทีใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง ทิงอุปกรณ์
มีคมทีใช้แล้วในภาชนะทีเหมาะสม ไม่สวมปลอกเข็มกลับคืน
ทําความสะอาดสิงแวดล้อมทีเปือนเลือดหรือสารคัดหลังอย่างถูกวิธี
บรรจุผ้าเปือนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
ทําความสะอาดและทําลายเชือ หรือทําให้ปราศจากเชืออุปกรณ์ การแพทย์ทุกชินทีใช้กับผู้ป่วยแล้ว
หลีกเลียงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน โดยเฉพาะถูกเข็มทีใช้ กับผู้ป่วยตํา
หลัก Transmission - Base precautions
การป้องกันการแพร่กระจายของเชือทีาให้เกํิดโรคตามทางที เชือออกจากตัวผู้ป่วย และทางทีจะเข้าสู่บุคคล
ต้องทราบทางออกและทางเข้าของเชืโคแต่ละชนิด
ใช้หลัก standard precautions ร่วมด้วยเสมอ
การป้องกันการแพร่กระจายเชือทางอากาศ
ห้องผู้ป่วย
แขวนป้ายแจ้งเตือน
อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย
การเคลือนย้าย
เคลือนย้ายเมือจําเป็นและให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดธรรมดา
รวมทังแจ้งหน่วยงานทีรับย้ายทราบถึงการแพร่กระจายเชือ
การควบคุมการแพร่กระจายเชือ
กําจัดเชื้อโรค แหล่งของเชือโรค
แยกผู้ป่วยติดเชือออกจากผู้ป่วยทั่วไป
ทําความสะอาดและทําลายเชือโรค อาคารสถานทีเครืองมือ เครืองใช้
แยกผู้ป่วยทีมีภูมิคุ้มกันโรคน้อย
ออกจากแหล่งของเชือโรค และ ส่งเสริมภูมิคุ้มกันโรค
สิงแวดล้อม อาคาร สถานทีไม่เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค
การเฝ้าระวังการติดเชือในโรงพยาบาล (surveilance)
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนและให้การพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
ยึดหลักปฎิบัติ Aseptic technique หรือ เทคนิคปลอดเชื้อ