Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
เชื้อก่อโรค (Infectious agent)
หมายถึง
เชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อ
เชื้อก่อโรคแบ่งได้เป็น 5 ชนิด
แบคทีเรีย
Gram positive
Gram negative
โปรโตซัว
Entamoeba histolytica ทําให้เกิดโรคบิด
เชื้อรา
Candida albicans
Canduda glabrata
ไวรัส
อีสุกอีใส
เชื้อหัด
เริม
ไข้หวัดใหญ่
Corona virus
พยาธิ
พยาธิเส้นด้าย
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค (Reservoir)
แหล่งของเชื้อโรคเป็นที่ให้เชื้อโรคเจริญเติบโตและมี การขยายตัว
ทางออกของเชื้อ (Portal of exit)
เชื้อจุลชีพออกจากร่างกายของคนซึ่งเป็นโรคได้หลายทาง
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางระบบสืบพันธุ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ (Mode of transmission)
การสัมผัส
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนํา
ทางเข้าของเชื้อ (Portal of entry)
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีดขาด
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล (Susceptible host)
ภายหลังที่เชื้อจุลชีพเข้าไปในร่างกายและจะทําให้บุคคลติดเชื้อง่ายหรือยากขึ้นอยู่กับลักษณะของเชื้อจุลชีพธรรมชาติของเนื้อเยื่อที่รับ เชื้อ สุขภาพทั่วไปของแต่ละบุคคล ภูมิคุ้มมกันโรค
เป็นปฏิกิริยาของร่างกาย (Host interaction) ที่เกิดขึ้นเมื่อมีเชื้อโรค (Microorganisms) เข้าสู่ร่างกาย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความเครียด (Stress)
ถ้าบุคคลมีความเครียดเกิดขึ้น จะมีความไวต่อการติดเชื้อได้ง่าย
ภาวะโภชนาการ
บุคคลที่ได้รับอาหารครบถ้วนความไวต่อการติดเชื้อจะน้อยกว่าคนที่ขาด อาหาร
ความอ่อนเพลีย
พบว่าคนที่อ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอจะติดเชื้อง่ายกว่า มีความ ต้านทานต่อเชื้อโรคน้อยกว่า เช่น คนที่ทํางานหนักเกินไป
ความร้อนหรือเย็น
คนที่ได้รับความร้อนหรือเย็นจัดจนเกินไปมีความไวต่อการติดเชื้อ มากกว่า
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
คนที่มีอาการแพ้ต่าง ๆ หรือมีโรคเรื้อรัง มีความต้านทานต่ำกว่า คนปกติ จึงทําให้ความสามารถในการต่อสู้กับเชื้อโรคที่รุกรานเข้ามาน้อยลง
เพศ
เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับการติดเชื้อเหมือนกัน พบว่าโรคบางชนิดพบมากในแต่ละเพศไม่เท่ากัน
กรรมพันธุ์
บางคนขาดสาร Immunoglobulin ซึ่งเป็นตัวการสําคัญในการสร้าง
ภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย
อายุ
ในเด็กมีความไวต้อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่
การรักทางการแพทย์บางชนิด
ทําให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย เช่น คนที่ได้รับการรักษา ด้วยการฉายรังสี
อาชีพ
บางอาชีพมีโอกาสที่จะสัมผัสกับเชื้อได้ง่าย หรือลดประสิทธิภาพของกลไกการ ป้องกันตนเอง
การติดเชื้อในโรงพยาบาล (Nosocomial infection)
หมายถึง การติดเชื้ออันเป็นผลจากการที่
ผู้ป่วยได้รับเชื้อจุลชีพขณะอยู่ในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรค
ส่วนใหญ่เป็นเชื้อประจําถิ่น หรือเชื้อที่พบบนร่างกายผู้ป่วยเอง (Normal flora หรือ Colonization)
คน
ผู้ที่ติดเชื้อในโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วย แต่อาจจะเป็นบุคลากรใน โรงพยาบาลได้
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมผู้ป่วยในโรงพยาบาลครอบคลุมถึง อาคาร สถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้ บุคลากรในโรงพยาบาล และญาติที่มาเยี่ยม
การแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส
(Contact transmission)
หมายถึงการ แพร่กระจายเชื้อด้วยวิธีการสัมผัส
ระหว่างเชื้อก่อโรคกับบุคคลที่ไวต่อการติดเชื้อ
เชื้อจุลชีพแพร่กระจายจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง
(Cross infection) ได้ 2 วิธี
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง
(Direct–contact transmission)
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยอ้อม
(Indirect–contact transmission)
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง (Droplet spread)
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne transmission)
การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนํา (Vehicle transmission)
การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ (Vector-Borne transmission)
การทําลายเชื้อ และการทําให้ปราศจากเชื้อ
การทําลายเชื้อ (Disinfection)
หมายถึง การกําจัดเชื้อจุลชีพบางชนิดท่ีแปดเปื้อน ผิวหนัง อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้ทางการแพทย์ หรือพื้นผิวต่างๆ โดยใช้สารเคมี หรือใช้วิธีการทาง กายภาพ
วิธีการทําลายเชื้อ
การล้าง
การต้ม
การใช้สารเคมี
การใช้น้ํายาฆ่าเชื้อ
จําแนกตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
การล้างมือก่อนทําหัตถการ (Surgical handwashing)
การเตรียมผิวหนัง
การทําแผล
การทําความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอดหรือก่อนการตรวจภายใน
การสวนล้างช่องคลอด
การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัด
แบ่งออกตามประสิทธิภาพในการทําลายเชื้อได้เป็น 3 ระดับ
การทําลายเชื้อระดับกลาง (Intermediate-level disinfection)
การทําลายเชื้อระดับสูง (High-level disinfection)
การทําลายเชื้อระดับต่ำ (Low-level disinfection)
การทําให้ปราศจากเชื้อ (Sterilization)
หมายถึง กระบวนการในการทําลายหรือขจัด เชื้อจุลชีพทุกชนิดรวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียจากเครื่องมือทางการแพทย์ อุปกรณ์ที่ต้องผ่านเข้าสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่ปราศจากเชื้อ กระแสเลือดหรือเนื้อเยื่อ
วิธีการทําให้อุปกรณ์ ปราศจากเชื้อแบ่งออกได้ 2 วิธี
วิธีการทางกายภาพ (Physical method)
การใช้ความร้อน (Thermal or Heat sterilization)
การเผา (Incineration)
การใช้ความร้อนแห้ง (Dry heat)
การต้ม (Boiling)
การใช้ความร้อนชื้น (Moist heat)
การใช้รังสี (Ionizing radiation)
การใช้รังสีคลื่นสั้นในการทําให้อุปกรณ์ปราศจาก เชื้อเป็นวิธีท่ีมีประสิทธิภาพ
วิธีการทางเคมี (Chemical method)
การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas (EO)
Formaldehyde gas
การใช้ High-level disinfectant
Glutaraldehyde
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
วิธีการเก็บรักษาท่ีดี
วัสดุปราศจากเชื้อก่ออพลาสติกหรือกระดาษ ไม่ควรเอายางรัดเพราะจะทําให้วัสดุห่อหุ้มฉีกขาด
เก็บไว้ในปริมาณพอเหมาะ พอใช้ ไม่ควรสะสมไว้มากเกินไป
เก็บไว้ในที่แห้ง ห่างจากอ่างล้างมือหรือบริเวณที่เปียกชื้น
วัสดุท่ีห่อและทําให้ปราศจากเชื้อในสถานพยาบาล ต้องใช้ในกําหนดเวลา หากห่ออุปกรณ์
หมดอายุจะต้องนํากลับไปห่อใหม่และทําให้ปราศจากเชื้ออีกคร้ังก่อนนําไปใช้
เก็บไว้ในตู้มีฝาปิดมิดชิด ไม่มีแมลงหรือสัตว์เข้าไปรบกวน
การเก็บรักษาห่ออุปกรณ์ที่ผ่านกระบวนการทําให้ปราศจากเชื้อ
ห่อด้วยผ้าลินิน 2 ช้ัน
ระยะเวลานานท่ีสุดที่สามารถเก็บได้ 7 สัปดาห์
ห่อด้วยผ้าลินิน และหลังจากผ่านการทําให้ปราศจากเชื้อแล้ว
บรรจุในถุงพลาสติกปิดด้วยความร้อนเพื่อป้องกันฝุ่น
ระยะเวลานานท่ีสุดที่สามารถเก็บได้ 9 เดือน
ห่อด้วยผ้าลินิน และหลังจากผ่านการทําให้ปราศจากเชื้อแล้ว
บรรจุในถุงพลาสติกปิดด้วยเทป
ระยะเวลานานท่ีสุดที่สามารถเก็บได้ 3 เดือน
ห่อด้วยกระดาษ
ระยะเวลานานท่ีสุดที่สามารถเก็บได้ 8 สัปดาห์
ห่อด้วย Plastic-paper ปิดด้วยความร้อน
ระยะเวลานานท่ีสุดที่สามารถเก็บได้ 1 ปี
Plastic films ปิดด้วยเทป
ระยะเวลานานท่ีสุดที่สามารถเก็บได้ 3 เดือน
Plastic films ปิดด้วยความร้อน
ระยะเวลานานท่ีสุดที่สามารถเก็บได้1 ปี
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
หมายถึง การปฏิบัติเพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อจุลชีพจากผู้ป่วยที่มีเชื้อ หรือผู้ป่วยท่ีมีเชื้ออยู่แต่ไม่ปรากฏอาการ (Carrier) แพร่ไปสู่ผู้ป่วยอื่น บุคลากรหรือญาติผู้ป่วย
วิธีการ ป้องกันการแพร่กระจายเชื้ในโรงพยาบาลและสถานบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข 2 ประเภท
Standard precautions
การปฏิบัติตามหลัก Standard precautions
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
การล้างมือออกเป็น 3 ประเภท
การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อโรค
(Hygienic hand washing)
การล้างมือก่อนทําหัตถการ (Surgical hand washing)
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
การใช้ Alcohol hand rub ทดแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน หรือในบริเวณที่ไม่ มีอ่างล้างมือ
สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
การใช้เครื่องป้องกันร่างกาย
ถุงมือ
ถุงมือปราศจากเชื้อ ใช้เมื่อจะหยิบจับเครื่องมือท่ีปราศจากเชื้อ
หรือเมื่อ จะทําหัตถการ
ถุงมือสะอาด ใช้เมื่อจะหยิบ จับ สิ่งของสกปรก มีสารพิษ หรือมีเชื้อโรค
เสื้อคลุม ใช้เมื่อจะสัมผัสกับสิ่งท่ีมีเชื้อโรค
ผ้าปิดปากและจมูก ใช้ป้องกันการแพร่เชื้อจากจมูกและปากจากผ้าสวมสู่คนท่ีอยู่ใกล้เคียง
หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง ทิ้งอุปกรณ์มีคมท่ีใช้แล้วในภาชนะท่ีเหมาะสม
ทําความสะอาดส่ิงแวดล้อมท่ีเปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
ทําความสะอาดและทําลายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน
Transmission-base precautions
วิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 3 วิธี
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
(Airborne precautions)
แนวทางการปฏิบัติ
แยกผู้ป่วยท่ีเป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ (Isolation)
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรงหรือผ่านเครื่องกรองท่ีมีประสิทธิภาพ
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ํามูกนํ้าลาย (Droplet precautions)
แนวทางการปฏิบัติ
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
หากไม่มีห้องแยกไม่สามารถจัดให้ผู้ป่วยอยู่รวมกันได้ ควรจัดระยะห่างระยะห่างไม่น้อยกว่า 3 ฟุต
ผู้ท่ีจะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก เมื่อให้การดูแลผู้ป่วยในระยะ 3 ฟุต
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจําเป็นควรให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดชนิดใช้แล้วทิ้ง (Disposable mask)
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส
(Contact precautions)
แนวทางการปฏิบัติ
สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย
ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมนํ้ายาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
สวมเสื้อคลุม หากคาดว่าอาจสัมผัสเลือด สารคัดหลั่ง
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ควรแยกอุปกรณ์ชนิด Non-critical items สําหรับผู้ป่วยโดยเฉพาะ
อาศัยหลักการ
กําจัดเชื้อโรค
ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย
ส่ิงแวดล้อม อาคาร สถานท่ี
การทําลายเชื้อและการทําให้ปราศจากเชื้อต้องกระทําอย่างถูกต้อง
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายท่ีแน่นอน
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การประเมินความเสี่ยงต้อการติดเชื้อของผู้ป่วย (Assessment)
การรักษาท่ีได้รับ
โดยการซักประวัติ
และตรวจร่างกายเก่ียวกับโรคของผู้ป่วย
การรักษาท่ีได้รับ ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
เสี่ยงการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
มีโอกาสเกิดการระบาดของโรคในชุมชน
การวางแผนและให้การพยาบาล
(Planning and Implementation)
จากข้อมูลสนับสนุนท่ีประเมินได้ ต้องกําหนดวัตถุประสงค์ เกณฑ์การ ประเมินผล และ การพยาบาลตามปัญหาของผู้ป่วย เพื่อให้สามารถแก้ไข หรือบรรเทาปัญหาของผู้ป่วยได้
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ยึดหลักปฏิบัติ Aseptic technique หรือ เทคนิคปลอดเชื้อ เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่จะเกิดขึ้นกับเครื่องมือ เครื่องใช้และสิ่งแวดล้อม