Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
การติดเชื้อ
การติดเชื้อเกิดขึ้นเมื่อมีเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย เชื้อจะแบ่งตัวมากจนทำให้หน้าที่ของร่างกายผิดปกติ
ร่างกายมีปฏิกิริยาต่อเชื้อโรคโดยการสร้างภูมิคุ้มกัน
การสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกายโดยไม่มีอาการและอาการแสดงของโรค เรียกว่า Inapparent infection
การสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกายโดยมีอาการของโรคปรากฏให้เห็น เรียกว่า Infectious
องค์ประกอบของการติดเชื้อ
เชื้อก่อโรค (Infectious agent)
เชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อ
ขึ้นอยู่กับความสามารถของเชื้อในการเพิ่มจำนวนและเจริญเติบโต
ความสามารถในการรุกรานเข้าสู่เนื้อเยื่อของร่างกาย
ความสามารถในการก่อโรค
เชื้อก่อโรคแบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด
แบคทีเรีย แบคทีเรียแกรมบวก (Gram positive)
แบคทีเรียแกรมลบ (Gram negative)
โปรโตซัว
Entamoeba histolytica
ทำให้เกิดโรคบิด
เชื้อรา
Candida albicans
Canduda glabrata
ไวรัส
เชื้อหัด
อีสุกอีใส
เริม
พยาธิ
พยาธิเส้นด้าย
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค (Reservoir)
แหล่งของเชื้อโรคเป็นที่ให้เชื้อโรคเจริญเติบโตและมีการขยายตัว
แหล่งเชื้อโรค
คน
สัตว์
พืช
ดิน
แมลงต่างๆ
เหา
เห็บ
หมัด
ทางออกของเชื้อ (Portal of exit)
เชื้อจุลชีพออกจากร่างกายของคน
ระบบทางเดินหายใจ
ออกมาพร้อมน้ำมูก ลมหายใจ
ระบบสืบพันธุ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ผู้ติดเชื้อที่แมลงกัดและดูดเลือดไปกัดผู้อื่น
เชื้อจากมารดาสู่ทารกในครรภ์โดยผ่านสายสะดือ
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ (Mode of transmission)
เชื้อแพร่กระจายจากผู้ติดเชื้อหรือผู้ป่วยไปสู่ผู้อื่นได้หลายทาง
การสัมผัส
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนำ
ทางเข้าของเชื้อ (Portal of transmission)
เมื่อเชื้อโรคออกจากแหล่งเชื้อโรคจะทำให้เกิดโรคได้ โดยการหาทางเข้าไปในร่างกายมนุษย์ใหม่ทางเข้ามักเป็นทางเดียวกับที่ออกมา ได้แก่
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีกขาด
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล (Susceptible host)
ภายหลังที่เชื้อจุลชีพเข้าไปในร่างกายและจะทำให้บุคคลติดเชื้อง่ายหรือยากขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของเชื้อจุลชีพ
สุขภาพทั่วไปของแต่ละบุคคล
ธรรมชาติของเนื้อเยื่อที่รับเชื้อ
ภูมิคุ้มกันโรค
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความเครียด (Stress)
บุคคลที่มีความเครียดเกิดขึ้นจะไวต่อการติดเชื้อได้ง่าย
คนที่เพิ่งฟื้นจากการผ่าตัดใหม่ๆ ย่อมรับการติดเชื้อง่ายกว่าคนที่มีสุขภาพแข็งแรง
ภาวะโภชนาการ
บุคคลที่ได้รับอาหารครบถ้วนความไวต่อการติดเชื้อจะน้อยกว่าคนที่ขาดอาหาร
ความอ่อนเพลีย
คนที่อ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอจะติดเชื้อง่ายกว่า ความต้านทานเชื้อโรคน้อย
คนที่ทำงานหนักเกินไป
ความร้อนหรือเย็น
คนที่ได้รับความร้อนหรือเย็นจัดจนเกินไปมีความไวต่อการติดเชื้อมากกว่า
เนื่องจากร่างกายต้องปรับตัวต่อความร้อนหรือความเย็นมาก
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
คนที่มีอาการแพ้หรือมีโรคเรื้อรังจะมีความต้านทานต่ำกว่าคนปกติ
ความสามารถในการต่อสู้กับเชื้อโรคที่รุกรานเข้ามาน้อยลง
เพศ
โรคบางชนิดพบมากในแต่ละเพศไม่เท่ากัน
พบโรคปอดบวมในผู้ชายมากกว่า
พบโรคอีดำอีแดงในผู้หญิงมากกว่า
กรรมพันธุ์
อายุ
เด็กมีความไวต่อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่
เนื่องจากการสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกายไม่ดีเท่าผู้ใหญ่
คนสูงอายุมีภูมิต้านทานน้อยกว่า
เนื่องจากร่างกายได้รับอาหารไม่เพียงพอ
คนสูงอายุมักมีโรคเรื้อรังร่วมอยู่ด้วย
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
ทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
คนที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสี
คนที่ได้รับยาที่กดการสร้างภูมิคุ้มกัน
อาชีพ
บางอาชีพมีโอกาสที่จะสัมผัสกับเชื้อได้ง่ายหรือลดประสิทธิภาพของกลไกการป้องกันตนเอง
คนเลี้ยงนกพิราบมีโอกาสติดเชื้อไวรัส H1N1
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรค
เชื้อก่อโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่พบมากที่สุด
เชื้อแบคทีเรียแกรมลบทรงแท่ง (Gram negative bacilli)
มีอัตราการดื้อต่อยาปฏิชีวนะในอัตราสูง
MRSA
Pseudomonas aeruginosa
คน
โรคติดเชื้อในโรงพยาบาลจะพบได้มากในผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำ
เด็กเล็กที่มีภูมิต้านทานยังพัฒนาไม่เต็มที่
ผู้สูงอายุ
สิ่งแวดล้อม
อาคาร
สถานที่
เครื่องมือเครื่องใช้
ในอนาคตเครื่องมือทางการแพทย์ที่ใช้ตรวจหรือรักษาโดยการสอดใส่เข้าร่างกายผู้ป่วยจะมีมากขึ้น
ผู้ป่วยจึงมีโอกาสติดเชื้อสูง
บุคลากรในโรงพยาบาล
ญาติที่มาเยี่ยม
การแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส (Contact transmission)
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง
การแพร่กระจายเชื้อที่มีการสัมผัสกันโดยตรงระหว่างคนต่อคน
การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย
การอาบน้ำเช็ดตัวผู้ป่วย
การทำแผล
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยอ้อม
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสกับสิ่งของหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีการปนเปื้นเชื้อโรค
ของเล่นในแผนกเด็กป่วย
ลูกบิดประตู
เครื่องช่วยหายใจ
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง (Droplet spread)
เกิดจากการสัมผัสกับฝอยละอองน้ำมูกน้ำลายจนาดใหญกว่า 5 ไมครอน ในระยะไม่เกิน3
ฟุต
ฝอยละอองเกิดขึ้นขณะที่ผู้ป่วย
ไอ
จาม
พูด
ร้องเพลง
การให้ทำกิจกรรมการรักษาพยาบาล
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne transmission)
การสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
เชื้อจุลชีพอยู่ในรูป Droplet
ฝุ่นล่องลอยอยู่ในอากาศ
เชื้อจุลชีพที่แพร่กระจายโดยวิธีนี้
เชื้อสุกใส
เชื้อวัณโรค
งูสวัด
การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนำ(Vehicle transmission)
เป็นการแพร่กระจายเชื้อซึ่งเกิดจากการที่มีเชื้อจุลชีพปนเปื้อน
เลือด
ผลิตภัณฑ์ของเลือด
อาหาร
น้ำ
ยา
สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำแก่ผู้ป่วย
การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ (Vector-Borne transmission)
การแพร่กระจายเชื้อโดยแมลงหรือสัตว์นำโรค
การถูกยุงที่มีไวรัสเด็งกี่กัด
การถูกยุงที่มีเชื้อมาลาเรียกัด
แมลงวันเกาะขยะแล้วมาเกาะอาหาร
การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อ(Disinfection)
วิธีการทำลายเชื้อ
การล้าง
การต้ม
การใช้สารเคมี
การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
ใช้สบู่ก้อนหรือสบู่เหลว
การล้างมือก่อนหัตถการ (Surgical handwashing)
การผ่าตัด
การทำคลอด
การเตรียมผิวหนัง
การทำแผล
การทำความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอดหรือก่อนตรวจภายใน
การสวนล้างช่องคลอด
การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัด
ระดับการทำลายเชื้อ
การทำลายเชื้อระดับสูง (High-level disinfection)
สามารถทำลายจุลชีพก่อโรคได้ทุกชนิด รวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรีย
การทำลายเชื้อระดับกลาง (Intermediate-level disinfection)
สามารถทำให้เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราอ่อนกำลังจนไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์
ไม่สามารถทำลายสปอร์ของแบคทีเรียได้
การทำลายเชื้อระดับต่ำ (Low-level disinfection)
สามารถทำลายแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราบางชนิด
ไม่สามารถทำลายเชื้อที่มีความคงทน
การทำให้ปราศจากเชื้อ (Sterilization)
วิธีการทำให้อุปกรณ์ปราศจากเชื้อ
วิธีการทางกายภาพ(Physical method)
การใช้ความร้อน (Thermal or Heat sterilization)
การเผา (Incineration)
ใช้ทำลายอุปกรณ์ที่ไม่นำกลับมาใช้อีก
การใช้ความร้อนแห้ง (Dry heat)
วิธีนี้เหมาะสำหรับอุปกรณ์ประเภทแก้วและโลหะ
บรรจุอุปกรณ์ในเตาอบ อุณหภูมิ 160-180องศาเซลเซียส นาน1-2ชั่วโมง
การต้ม (Boiling)
ต้มในน้ำเดือด100องศาเซลเซียส นาน 30 นาที
วิธีนี้ไม่ใช่วิธีทำให้ปราศจากเชื้อที่เชื่อถือได้แน่นอน
การใช้ความร้อนชื้น (Moist heat)
การนึ่งภายใต้ความดัน
วิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุด
การใช้รังสี (Ionizing radiation)
การใช้รังสีคลื่นสั้นทำให้อุปกรณ์ปราศจากเชื้อ เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพ
รังสีเอกซ์ (X-ray)
รังสีแกมมา (Gamma rays)
วิธีการทางเคมี (Chemical method)
การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas (EO)
มีประสิทธิภาพสูง
เหมาะสำหรับวัสดุที่ไม่สามารถทนความร้อนและความชื้นได้
Formaldehyde
มีฤทธิ์ทำลายจุลชีพอย่างกว้างขวาง
การใช้ High-level disinfectant
Glutaraldehyde
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
Standard precautions
เป็นการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากเลือด สารน้ำของร่างกาย สารคัดหลั่งทุกชนิด ยกเว้นเหงื่อมาใช้กับผู้ป่วยทุกราย
การปฏิบัติตามหลัก Standard precautions
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
การล้างมือธรรมดา
การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปรเปื้อนเชื้อโรค
การล้างมือก่อนทำหัตถการ
การใช้ Alcohol hand rub ทดแทนการล้างมือกรณีเร่งด่วน
สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
ถุงมือ
ถุงมือปราศจากเชื้อ
ใช้เมื่อหยิบจับเครื่องมือที่ปราศจากเชื้อ
ถุงมือสะอาด
ใช้เมื่อหยิบจับสิ่งสกปรก น่ารังเกียจ มีสารพิษ
เสื้อคลุม
ใช้เมื่อสัมผัสกับสิ่งที่มีเชื้อโรค
การอุ้มเด็กที่มีแผลพุพองตามลำตัว
ใช้เพื่อป้องกันเชื้อโรคแพร่สู่ผู้ป่วย
การทำผ่าตัด
ทำคลอด
ผ้าปิดปากและจมูก
ใช้ป้องกันการแพร่เชื้อจากจมูกและปากจากผู้สวมสู่คนที่อยู่ใกล้เคียง
ช่วยลดละอองน้ำหรือเลือดที่กระเด็นในขณะทำการผ่าตัดไม่ให้มาสัมผัสกับปากและจมูกได้
หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง ทิ้งอุปกรณ์ที่ใช้แล้วในภาชนะที่เหมาะสม ไม่สวมปลอกเข็มกลับคืน
ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่ปนเปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
ทำความสะอาดและทำลายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน โดยเฉพาะถูกเข็มที่ใช้กับผู้ป่วยตำ
Transmission-base precautions
การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อที่ทำให้เกิดโรคตามทางที่เชื้อออกจากตัวผู้ป่วยและทางที่จะเข้าสู่บุคคล
วิธีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne precautions)
แยกตัวผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษและปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
ผู้ป่วยโรคเดียวกันจัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรง ควรมีการหมุนเวียนอากาศอย่างน้อย6รอบต่อชั่วโมง
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจำเป็นควรให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิดใช้แล้วทิ้ง
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูกน้ำลาย
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกและปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
ผู้ป่วยโรคเดียวกันจัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
หากไม่มีห้องแยกและไม่สามารถจัดผู้ป่วยอยู่รวมกันได้ควรจัดระยะห่างไม่น้อยกว่า3ฟุต
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดจมูก เมื่อให้การดูแลผู้ป่วยในระยะ3ฟุต
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจำเป็นควรให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิดใช้แล้วทิ้ง
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact precautions)
สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย และเปลี่ยนถุงมือใหม่เมื่อสัมผัสสิ่งคัดหลั่งที่น่าจะมีเชื้อโรคมาก ขณะให้การพยาบาลผู้ป่วยรายเดิม
ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมน้ำยาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
สวมเสื้อคลุม เมื่อคาดว่าอาจสัมผัสเลือด สารคัดหลั่ง หนอง อุจจาระของผู้ป่วย
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ควรแยกอุปกรณ์ชนิด Non-critical items สำหรับผู้ป่วยโดยเฉพาะ
หลักการการควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
กำจัดเชื้อโรค
ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย ควรแยกตากแหล่งเชื้อโรค
สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่ ควรให้สะอาดและแห้ง
การทำลายขยะ
ขยะที่เป็นเลือด หนอง หรือน้ำสามารถเทลงโถส้วมได้
กระดาษ ผ้าต่างๆ ทิ้งแบบขยะธรรมดาได้
ใบมีด เข็ม ต้องส่งไปทำลายเชื้อจุลินทรีย์โดย Autoclave ก่อนทิ้ง
การแยกขยะในโรงพยาบาล
ขยะติดเชื้อ ใส่ถุงสีแดง
ขยะทั่วไป ใส่ถุงสีดำ
ขยะเป็นพิษ
ขยะที่นำกลับมาใช้ใหม่ ใส่ถุงสีขาว
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเลื้อต้องกระทำอย่างถูกต้อง
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
1.การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย (Assessment)
ชักประวัติ
ตรวจร่างกายเกี่ยวกับโรคของผู้ป่วย
การรักษาที่ได้รับ
ติดตามผลห้องปฏิบัติการ
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
เมื้อรวบรวมข้อมูลจากการประเมิน นำข้อมูลที่ได้มากำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
3.การวางแผนและให้การพยาบาล(Planning and Implementation)
กำหนดวัตถุประวงค์
เกณฑ์การประเมินผล
การพยาบาลตามปัญหาผู้ป่วย
การประเมินผลภายหลังให้การพยาบาลทุกครั้งกิจกรรมการพยาบาลที่สำคัญในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
4.การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)