Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา :pen:, นางสาวพลินี จำปา…
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา :pen:
การแปรผันของการตอบสนองของยา
Hypersensitivity แพ้ยา
Tolerance การดื้อยาหรือทนฤทธิ์ของยา
Hyperactivity ตอบสนองยามากกว่าปกติ
Tachyphylaxis การดื้อยาที่เกิดขึ้นในเวลารวดเร็วเมื่อได้รับยา 2-3 ครั้ง
Hyporeactivity ตอบสนองน้อยกว่าปกติ
Placebo effect ฤทธิ์หลอก
Idiosyncrasy
ความสำคัญของเภสัชวิทยาต่อวิชาชีพพยาบาล
เป็นหน้าที่ที่สำคัญของพยาบาล
ต้องมีความรู้เรื่องยา
ต้องมีคุณธรรม ตั้งใจทำงานไม่ประมาท
พยาบาลจะสามารถให้ยาผู้ป่วยได้ ต่อเมื่อแพทย์สั่งยาเป็นลายลักษณ์อักษรเท่านั้น
นักศึกษาพยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยต้องอยู่ในความดูแลของอาจารย์พยาบาลเท่านั้น
ข้อดี ข้อเสีย ของการให้เภสัชภัณฑ์ในวิถีต่างๆ
ยาชนิดรับประทาน
เช่น ยาแคปซู, ยาเม็ด ยาผลฟู่ ยาผงพิเศษ ย่น้ำใสขนิดรับประทาน ยาน้ำเชื่อม
ข้อดี
สะดวก ปลอดภัย ไม่เจ็บ ราคาถูก ให้ได้ด้วยตัวเอง
กหากเกิดอันตราย ฤทธิ์จะไม่รุนแรงเท่ายาฉีด
กรณีเกิดพิษ สามารถทำให้อาเจียนได้โดยง่าย หรือ ใช้ผงถ่าน
ช้อเสีย
ไม่เหมาะกับยาที่ดูดซึมผ่านระบบทางเดินอาหาร ไม่คงตัว
กลิ่นไม่ชวนทาน
ยาระคายเคืองกระเพาะอาหาร อาจทำให้เกิดแผล คลื่นไส้ อาเจียน
ยาอาจถูกทำลายโดยน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร หรือ จากกรด
ห้ามมิให้ผู้ป่วยอาเจียน หมดสติ
ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ IV
เข้าได้ 100 percent
ข้อดี
เหมาะกับคนไข้ที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว
ใช้ในรายที่หมดสติได้ หรือ อาเจียนได้
ข้อเสีย
เกิดพิษได้เร็ว รุนแรงถึงชีวิต
ราคาแพง
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
ให้ทางหลอดเลือดดำจะเร้ว อาจทำให้หัวใจล้มเหลว -
ยาชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ไม่ค่อยใช้แล้วเพราะเจ็บ
มันใช้ สำหรับการทดสอบการแพ้
ข้อดี
ดูดซึมช้า ดังนั้น ฤทธิ์ออกนาน
หากฉีดแล้วแพ้ สามาระ ใช้ tourniques รัดเหนือบริเวณที่ฉีดยาได้
ช้อเสีย
สามารถใช้ยาได้ไม่เกิน 2 ml
ยาราคาแพง
บริเวณที่ฉีดอาจเกิดฝีได้
ยาเหน็บ (เหน็บทวาร เหน้บช่องคลอด)
ช้อดี
เหมาะกับเด็กหรือผู้ที่รับประทานยายาก เช่นเหน็บทวารลดไข้
ออกฤทธิ์เฉพาะที่ และ ทั่วร่างกาย
ข้อเสีย
ไม่สะดวกต่อการใช้
ราคาแพง
ช่องคลอดอาจเกิดการติดเชื้อได้
ยาอมใต้ลิ้น
ข้อดี ดูดซึมเร็ว
ข้อเสีย ยาบางขนิดรสชาติไม่ดี
ยาขนิดฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
ข้อดี ยาดูดซึมเร็ว ไม่ค่อยละลคายเคือง
ข้อเสีย ยาให้ได้ไม่เกิน 5 m;
ยาพ่นฝอย
ข้อดี
ออกฤทธิ์เร็ว ให้ยาตนเองได้ ออกฤทธิ์เฉพาะที่
ข้อเสีย
วิธีการให้ยาไม่สะดวก
ปริมาณยาไม่แน่นอน
อาจระคายเคืองเยือบุทางเดินหายใจ อาจติดเชื้อ
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม Pharmaceutical preparations , Pharmaceutical products
รูปแบบที่เป็นของเหลว
ยาน้ำสารละลาย ................................. 1.1 ชนิดมีตัวทำละลายเป็นน้ำ จะเป็นสีเดียวกัน
ยากลั่้วคอ
มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ สามารถป้องกันการติดเชื้อในลำคอ ห้ามดื่ม กลืน
ยาอมบ้วนปาก Mouthwash
เพื่อระงับกลิ่นปาก
ยาจิบ มีความหนืดนึงหน่อย หวานแต่ไม่เท่ายาน้ำเชื่อม
ยาหยอดหู Oticpreparations
ใสๆ พวกน้ำเกลือ
ยาน้ำเชื่อม Syrups
มีน้ำตาลผสม เพื่อกลบกลิ่น หวานมาก
ยาสวนล้าง Irrigation
พวกน้ำเกลือล้างแผล
ยาน้ำใส Solutions
ใสไม่ตกตะกอน
ตัวยาที่อยู่ไม่ใช่สารระเหย
ยาสวนล้างทวารหนัก Enemas
ประกอบด้วยตัวทำละลาย น้ำ กลีเซอลีน สารละลายน้ำเกลือ โซเดียมคาร์บอเนต
น้ำปรุง Aromatic water
มีน้ำมันหอมระเหยอยู่ด่้วย
เช่น น้ำมันกาบุร
1.2 ยาสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช่น้ำ
ยาโคโลเดียน Collodians หรือ ยากัด
มักใช้ในการรักษาตาปลา หรือ หูด
มีฤทธิ์ลอกผิวหนัง
ยากลีเซอริน Glycerines
เหียงข้น กึ่งแข็ง
ยาสปริริต Spirits
Alcohol 60 percent
ยาถูนวด Liniments ยาใช้ภายนอก
ยาอิลิกเซอร์ Elixir
alcoho 40 percent
ยาป้าย Paints
มี Alcohol นิดหน่อย
ยาน้ำกระจายตัว
หมายถึง ยาน้ำแขวนลอย
เข่น
lotions
Magmas and milk
พวกยาระบาย
เจล gel
Mixures
ยาผสม
Emulsion
เช่นน่ำมันระหุ่ง
รูปแบบที่เป็นของกึ่งแข็ง
มีลักษณะต่างกัน ยบางขนิดบรรจุในภาชนะพิเสษ
เช่น
ขึ้ผึ้ง Oiltment ลักษณะเป็นมัน เพื่อลดการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย หรือ บรรเทาอาการต่างๆ
ครีม Paste เป็นยาน้ำแขวนตะกอน มีความข้นมาก ป้องกันการติดเชื้อ รู้สึกเย็น หรือ ใช้แต่งแฟล มักผสมกับน่ที่ให้ความเหนียง และ ดูดซึมได้ดี
รูปแบบที่เป็นของแข็ง Solid form
ยาอมใต้ลิ้น Sublingual
มักใช้ในกรณีฉุกเฉิน
ออกฤทธิ์รวดเร็วกว่าปกติ
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ต้องเคี้ยวก่อนยาถึงจะออกฤทธิ์
ยาเม็ด Tablet มี 2 ชนิด
ยาเม็ดเคลือบ
กินเข้าไปแตกตัว 100percent
เช่น Vitamin B 1-6-12ฟ
ยาเม็ดไม่เคลือบ
ยาออกฤทธิ์อย่างไม่ค่อยเต็มที่ ไม่มีประสทิธิภาพ ไ่ม่ถึง 100 percent
เช่น Aspirin Paracatamol
ยาผงเดือดฟู่ Effervescent powder
ละลายน้ำได้ง่าย
ประกอบด้วย Sodium bicarbonate and Acetic acid
ยาแคปซูล Capsule เป็นยาที่มีเจลาตินหุ้ม
ทำให้กินง่าย เช่นยา Tetracyclin Chloramphenical
ยาผง Pulverse or power
ยาผสมที่เป็นผเพื่อเก็บยาได้นานและกลิ่นรสดีขึ้น มีทั้งขนิดโรย และ ชนิดกิน
เช่น ยาแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ท้องร่วง
ยาเหน็บ Suppositories
ใช้เฉพาะที่
การใช้ควรระมัดระวัง ใช้อย่างถูกวิธี และ ปลอดภัย
ยาอม Lozenge and Troche
มักมีส่วนผสมของยาฆ่าเชื้อด้วย
ประเภทอื่นๆ เช่น
ยาทาผิวหนัง Applications ยาใช้เฉพาะที่ อาจเป็นน้ำใส อิมัลชั้น ยาน้ำ หรือ แขวนตะกอนก็ได้
ยาพ่นฝอย Spray ป้องกันฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ของร่างกาย
ยาฉีด infections ต้องเป็นน้ำใสเท่านั้น ห้ามเป็นแขวนตะกอน
ยาดม Inhalant เป็นยาที่มีกลิ่นหอมระเหย สูดดม เพื่อแก้อาการวิงเวียนศีรษะ
แหล่งกำเนิดยา
5.1 จากธรรมชาติ
จากพืช
มะขามแขกใช้เป็นยาระบาย
เมล็ดพริกไทยใช้เป็นยาขับลม
มะเกลือใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ
สารสกัดบริสุทธิ
เช่น
ใบชาและเมล็ดกาแฟ ใช้ในการกระตุ้นประสาทส่วนกลาง
มอร์ฟีนและโคเคอีนได้จากยางของฝิ่น ใช้เป็นยาแก้ปวด
จากสัตว์
สกัดจากอวัยวะของสัตวฺ เช่น ยาอินซูลินม่จากตับอ่อนของวัว
จากแร่ธาตุ เช่น ไอโอดีน ทองแดง น้ำมันเกลือแร่
เช่น ยาใส่แผลสด Tincture iodine ยาใช้ภายนอก
เช่น ผงน้ำตาลเกลือแร่ ใช่ในการทดแทนการสูฯเสียน้ำและเกลือแร่
5.2 จากการสังเคราะห์
โดยอาศัย ปฏิกิริยาทางห้องเคมี
การเรียกชื่อยา
เรียกชื่อสามัญทางยา หรือ ชื่อตัวยา Generic name
ยาต้นฉบับผลิดครั้งแรก
เช่น ยา acetaminophen หรือ ยาพาราเซลตามอล แก้ปวด ลดไข้ ก้จัดอยุ่กลุ่มเดียวกัน
เรียกชื่อตามการค้า Trade name
มีหลายฃื่อ แล้วแต่ว่า บริษัทเลือกนำตัวยาไหนไป ก็เปลี่ยนชื่อเป็นชื่อทางการค้าของตน
เช่น Sara Beramol Paracetamol Tylenol etc.
เรียกตามสูตรเคมี Chemical name
ยา 1 ตัว มี ชื่อเคมี 1 ชื่อ
เช่น N-(4-htdroyphenyl) Acetaminde
เรียกตามโครงสร้างเคมี สูตรเคมี
10 . การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัฃพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์ Pharmacodynamic
ยาออกฤทธิ์กับร่างกายอย่างไรบ้าง
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชศาสตร์
ออกฤทธิ์โดยไม่จับ receptor
chemical action เช่น ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
ออกฤทธิ์โดยจับ Receptor
Agonist กระตุ้นออกฤทธิ์
Antagonist ไม่ออกฤทธิ์
Receptor
Patial agonist ออกฤทธิ์บางส่วน
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Efficacy จับแล้วออกฤทธิ์
Potency ความแรงของฤทธิ์ยา
Affinity สามารถจับกับ receptor
เภสัชวิทยา และ เภสัชกรรม
เภสัชวิทยา Pharmacology
iรู้คุมสมบัติ ฤทธิ์ของยา
เภสัชกรรม Pharmacy
การเตรียมยา ผสมยา จ่ายยา
ประเภทของยา
4.1 ยารักษาโรคปัจจุบัน ตามพระราชบัญญัติ พุทธศักราช 2510 มี 9 ประเภท
ยาใช้ภายนอก : ยาแฟนปัจจุบันหรือแผนโบราณที่ใช้ภายนอก ไม่รวมยาใช้เฉพาะที่
ยาใช้เฉพาะที่ : มุ่งใช้ที่ผิวหนัง หู ตา จมูก ปาก ช่องคลอด ท่อปัสสาวะ และ ทวารหนัก
ยาควบคุมพิเศษ : ยาปุจจุบันหรือยาแผนโบราณทีรัฐมนตรีควบคุมพิเศษ
ยาสามาัญประจำบ้าน : ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนดบราณที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็นยาสามัญประจำบ้าน
ยาอันตราย : ยาแผนปัจจุบัน หรือ ยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาอันตราย
ยาบรรจุเสร็จ : ยาที่บรรจุหีบห่ออย่างดี มีฉลากครบถ้วน
ยาแผนโบราณ : ยาที่มุ่งหวังประกิบโรคซืลป์ยาแผนโบราณ หรือ บำบัดสัตว์
ยาสมุนไพร : ยาที่ได้จากพฤกษชาติ สัตว์ หรือ แร่ ซึ่งไม่ได้แปรสภาพหรือปรุง
ยาแผนปัจจุบัน : ยาที่มุ่งหมายใช้ในการประกอบเวชกรรม โรคศิลปฺปัจจุบัน หรือ บำบัดโรคสัตว์
4.2 แบ่งตามเภสัชตำหรับ
ประโยชน์ ประโยชน์ในการรักษา
กลไกลดูกลไกการออกฤทธิ์
ตำแหน่ง ที่ออกฤทธิ์
แหล่งที่มา เช่น มาจากทางเคมี และ เภสัชวิทยาของยา จากพืช แร่ธาคุ
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลศาสตร์
เภสัชจลศาสตร์ Pharmacokinetic
การศึกษาว่ายาที่กิน ร่างกายมีการจัดการอย่างไร
1.1 การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย Drug absorption
อัตรา ปริมาณ ยา ที่ถูกนำเข้าสู้่กระแสเลือด
Bioavailability
สัดส่วนของยาที่ไม่ถูกเปลี่ยนแปลง ที่ถูกนำเข้าสู่กระแสเลือด
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
รูปแบบยา น้ำใส ดูดซึม ได้มากกว่า แขวนตะกอน
Dosage เยอะ จะดูดซึมเยอะ
molecule ยิ่งเล็ก ยิ่งดูดซึมเร็ว
คุณสมบัติการละลายไขมัน เนื่องจาก cwll membrane ปรพกอบด้วยไขมัน จะซึมผ่าน ได้เร็ว
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
ให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
กรดอ่อน จะดูดซึมที่กระเพาะอาหาร
ด่างอ่อน จะดูดซึมที่ ลำไส้เล็ก
First pass effect คือ ปริมาณยาที่ถูกเปลี่ยนแปลงครั้งแรกที่ตับ
การให้ยาดูดซึใผ่านหลอดเลือดฝอย ใต้ลิ้น
การให้ยาดูดซึมผ่านทางเดินหายใจ
การให้ยาดูดซึมผ่านการฉีดใต้ผิวหนัง IV > IM > SC
ให้ยาดูดซึมผ่านทางผิวหนัง
ให้ยาดูดซึมผ่านการเหน็บทวารหนักและช่องคลอด
ให้ยาดูดซึมผ่านการเหน็บทวารหนักและช่องคลอด
การจับตัว plasma protein ถ้าจับเยอะกระจายได้ไม่ดี
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
คุณสมบัติการละลายไขมัน
ความสามารถในการผ่านไปส่วนอื่นๆ
ปริมาณเลือดที่ไหลไปเลี้ยงอวัยวะนั้นๆ
1.3 การแปรสภาพของยา หรือ การเปลี่ยนแปลงยา Drug metabolism , Drug biotransformation
ยา ไป absorb ไป distribution ไป metabolism ไป execretion หรือ Metabolite
ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงยา โดยปกติมี 2 ชั้นตอน
Phase I เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีของยา โดย oxidation reduction hydrolysis
Phase II ยาหรือ Metabolite จาก Pjase I ถ้าไม่มี Polar มาก ก็ถูกขับออกทางไตได้
ปัจจัยที่มีผลต่อ Drug metabolism
สิ่งแวดล้อม
อายุ
พันธุกรรม
ปฏิกิริยาระหว่างการเกิด Metabolism
ยาบางชนิดมีคุณสมบุติเหนี่ยวนำ enzyme inducer
ถ้ามีตัวหนึ่งไปเหนี่ยวนำ P450 อีกตัวจะมีฤทธิ์ลดลง
ยาบางชนิดมีคุณสมบัตรยับยั้ง Enzyme inhibitoe
ถ้ามีตัวนึงไปยังยั้ง P450 อีกตัวจะออกฤทธิ์นานขึ้น เป็นพิษได้
ยาที่เกิดปฏิกิริยาไวกว่า อาจทำให้เกิด endogenous substrates ในร่างกายหมดไป
การขับถ่ายออกจากร่างกาย Drug excretion ทางไต้ ตับ น้ำดี
ความหมายของยา
ตามพระราชบัญญัติยา พุทธศักราช 2510
รับรองไว้ในตำหรับยาที่รัฐมนตรีประกาศ
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรัยใช้ในการวิจัย บำบัด บรรเทา รักษา ป้องกันโรค ความเจ็บป่วย ของคนและ สัตว์
วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณ หรือ เภสัชเคมีภัณ์กุ่งสำเร็จรูป
วัตถุที่มุ่งหมายให้เกิดผลแก่่สุขภาพ โดยไม่รวม
ไม่รวมกับยาการเกษตร อุตสาหกรรม
ไม่รวมเครื่องสำอาง
ไม่รวมเครื่องกีฬา เครื่องสงเสริมสุขภาพ
ระดับความปลอดภัยของยา Theraprutic index : TI
TI =LD50/ED50
ยาที่มีค่า Therapeutic index ต่ำจะมีความปลอดภัยต่ำ เช่น litium , digoxin
ยาที่มีค่า Therapeutic index สูงจะมีความปลอดภัยในการใช้สูง
นางสาวพลินี จำปา 6201210378 19A :<3: