Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะช๊อคทางสูติศาสตร์ :<3: - Coggle Diagram
ภาวะช๊อคทางสูติศาสตร์ :<3:
ความหมาย
ทำให้เกิดความผิดปกติในการแปรสภาพ และเยื่อหุ้มเซลล์
ทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ล้มเหลว
ภาวะที่ระบบไหลเวียนเลือดไม่สามารถนำออกซิเจนและไม่สามารถนำของเสียที่เกิดจากการแปรสภาพในเซลล์ กลับออกมาได้ตามปกติ
ชนิดของภาวะช็อค
Septic shock
Chorioamnionitis
กรวยไตและไตอักเสบ
เป็นภาวะช็อคที่อาจเกิดร่วมกับการแท้งติดเชื้อ
การติดเชื้อหลังคลอด
Cardiogenic shock
การสูญเสียหน้าที่ของเวนตริเคิลซ้ายในการฉีดเลือด เพราะหัวใจหยุดทำงาน กล้ามเนื้อหัวใจตาย
การสูญเสียหน้าที่ของเวนตริเคิลในการรับเลือด
Hypovolemic shock
กลุ่มอาการความดันเลือดต่ำในท่านอนหงาย
ภาวะช็อคที่เกิดร่วมกับ Disseminated Intravascular Coagulation
ภาวะช็อคจากการเสียน้ำ
ภาวะช็อคจากการเสียเลือด
Neurogenic shock
จากยา
ภาวะมดลูกปลิ้น
จากสารเคมี
ภาวะเสียดุลย์เกลือแร่ในร่างกาย
สาเหตุ
กลไกการเกิดภาวะช็อคแบ่งเป็น 4 อย่าง
การลดลงของปริมาณเลือดจากหัวใจต่อนาที
ความผิดปกติในระบบไหลเวียนฝอย
การลดลงของปริมาตรในหลอดเลือด
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มเซลล
อาการและอาการแสดง
Primary shock
ช่วงแรก
ความดันโลหิตต่่ำลงเล็กน้อย
การหายใจ หอบเล็กน้อย
ชีพจร เพิ่มขึ้นเล็กน้อย
ความดันโลหิตเมื่อได้รับสารน้ำแล้วเพิ่มขึ้น
ผิวหนัง ปกติอบอุ่น
จำนวนปัสสาวะ ออกมากขึ้น
ภาวะการรู้สึกตัว กระวนกระวาย
ช่วงหลัง
ชีพจร 100 – 120 /นาที
ความดันโลหิต ต่ำปานกลาง
การหายใจ หอบ
ผิวหนัง ซีด เย็น
ความดันโลหิตเมื่อได้รับสารน้้ำแล้ว เพิ่มเล็กน้อย
ภาวะการรู้สึกตัว ไม่ค่อยรู้เรื่อง
จำนวนปัสสาวะ ออกมากขึ้นเล็กน้อย
Secondary shock
ความดันโลหิต ต่่ำมาก
การหายใจ หอบและเขียว
ชีพจร เบาเร็ว > 120/นาที
ความดันโลหิตเมื่อได้รับสารน้ำแล้ว ไม่เปลี่ยนแปลง
ผิวหนัง เขียว เย็น
จำนวนปัสสาวะ ไม่เปลี่ยนแปลง
ภาวะการรู้สึกตัว ไม่รู้สติ
การรักษา
ให้ยาเพื่อให้หลอดเลือดตีบตัว
ให้ออกซิเจน
ให้สารน้ำ หรือให้เลือด
รีบผ่าตัดหรือช่วยห้ามเลือด
เจาะเลือดจากหลอดเลือดแดงเพื่อตรวจ pH ของเลือด ออกซิเจนในเลือดและ CO2 ในเลือด
การพยาบาล
ยกปลายเท้าให้สูงเล็กน้อย เพื่อเพิ่มปริมาณเลือดมาสู่หัวใจ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ความอบอุ่นกับร่างกาย เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของเลือดมาสู่อวัยวะส่วนปลายแขน ปลายขา
สวนคาและบันทึกจำนวนปัสสาวะ
จัดให้มารดาอยู่ในท่านอนหงายราบและดูแลไม่ให้ทางเดินหายใจถูกปิดกั้น
ให้ออกซิเจน 6 – 8 ลิตร/นาที
ขอความช่วยเหลือจากบุคลากรอื่นในทีมสุขภาพ
ให้ความช่วยเหลือตามสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะช็อค
วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที