Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
การติดเชื้อ
Inapparent infection การสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกายโดยไม่มีอาการและอาการแสดงของโรค
Infectious disease มีอาการของโรคปรากฏให้เห็นได้ชัดเจน
องค์ประกอบของการติดเชื้อ
เชื้อก่อโรค
แบคทีเรีย
โปรโตซัว
เชื้อรา
ไวรัส
พยาธิ
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค
คน
สัตว์
พืช
ดิน
แมลงต่างๆ
ทางออกของเชื้อ
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบสืบพันธุ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
เชื้อที่อยู่บนแผลที่ผิวหนัง
เชื้อจากมารดาสู้ทารกผ่านสายสะดือ
เชื้อจากผู้ป่วยแล้วแมลงกัดแล้วดูดไปสู้ผู้อื่น
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ
การสัมผัส
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนำ
ทางเข้าของเชื้อ
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีกขาด
ความไวของบุคคลในการรับเชื้อ
สุขภาพทั่วไปของแต่ละบุคคล
ภูมิคุ้มกันโรค
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความเครียด มีความเครียดเยอะจะมีความไวต่อการติดเชื้อ
ภาวะโภชนาการ คนขาดสารอาหารจะมีความไวต่อการติดเชื้อ
ความอ่อนเพลีย คนที่อ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอจะติดเชื้อง่ายกว่า
ความร้อนหรือความเย็น การได้รับความร้อนหรือเย็นจัดเกินไปมีความไวต่อการติดเชื้อ
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง คนที่มีอาการแพ้ต่างๆจะมีความต้านต้ำกว่าคนปกติ
เพศ โรคบางชนิดพบมากในแต่ละเพศไม่เท่ากัน
กรรมพันธุ์
อายุ เด็กมีความไวต่อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด เช่น คนที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรักสี
อาชีพ บางอาชีพมีโอกาสที่จะสัมผัสกับเชื้อได้ง่าย
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรค ส่วนมากเป็นเชื้อประจำถิ่น
คน
ผู้ป่วย
บุคลากรในโรงพยาบาล
สิ่งแวดล้อม
อาคาร
สถานที่
เครื่องมือเครื่องใช้
บุคลาการในโรงพยาบาล
ญาติที่มาเยี่ยม
การแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส
การสัมผัสโดยตรง
การสัมผัสโดยตรงระหว่างคนต่อคน
มือที่สัมผัสแหล่งโรคแล้วมาสัมผัสผู้ป่วย
การสัมผัสโดยอ้อม
สัมผัสกับสิ่งของที่มีการปนเปื้อน
ของเล่นในแผนกเด็กป่วย
ลูกบิดประตู
ผ้าปูที่นอน
เครื่องช่วยหายใจ
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง การสัมผัสกับฝอยละอองน้ำมูกน้ำลายที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน ระยะไม่เกิน 3 ฟุต
ไอ
จาม
พูด
ร้องเพลง
การดูดเสมหะ
การตรวจหลอดลม
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
การแพร่กระจายโดยการสูดหายใจ
เชื้อจุลชีพที่แพร่กระจายโดยวิธีนี้คือ
เชื้อสุกใส
เชื้อวัณโรค
งูสวัด
การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนำ
เป็นการแพร่กระจายเชื้อซึ่งเกิดจากการที่มีเชื้อจุลชีพปนเปื้อน
ในเลือด
ผลิตภัณฑ์ของเลือด
อาการ
น้ำ
ยา
สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ
ได้รับเชื้อจาก
สัตว์นำโรค
แมลง
เชื้อที่อยู่ในตัวแมลงจะถ่ายทอดสู่คน
การถูกยุงที่มีไวรัสเด็งกี่กัด
ถูกยุงที่มีเชื้อมาลาเลียกัด
แมลงวันที่เกาะขยะแล้วมาเกาะอาหาร
การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อ
หมายถึงการกำจัดเชื้อจุลินทรีบางชนิดโดยใช้สารเคมีหรือทางกายภาพ
ผัวหนัง
อุปกรณ์เครื่องมือ
เครื่องใช้ทางการแพทย์
หรือพื้นผิวต่างๆ
วิธีการทำลายเชื้อ
การล้าง ผู้ล้างต้องระมัดระวังไม่ให้เชื้อเข้าสู้ร่างกาย โดยการสวมถุงมือ ผ้ากันเปื้อน และแว่นตา
การต้ม ต้มในน้ำเดือดนาน 20นาที
การใช้สารเคมี เป็นวิธีสุดท้ายที่จะใช้ถ้าไม่มีวิธีอื่น
การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
การล้างมือธรรมดา ใช้สบู่ก้อนหรือเหลวในการล้างมือหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งของที่ปนเปื้อน
การล้างมือก่อนทำหัตกรรม เช่น การผ่าตัด การทำคลอด
การเตรียมผิวหนัง
เพื่อฉีดยาใช้ Alcohol 70%
ผ่าตัดเล็กใช้ Alcohol 70%หรือ Tr.iodine 2%
ผ่าตัดใหญ่ใช้ฟอกให้เป็นบริเวณกว้างด้วย Chorhexidine 4% เช็ดน้ำยาออกแล้วทา Alcohol 70%+ Chorhexidine 1.5%
การทำแผล ไม่ควรใช้น้ำยาฆ่าเชื้อทาในบาดแผล
การทำความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอดใช้ Cetrimide15%+ Chorhexidine 1.5% เจือจาง 1:100
การสวนล้างช่องคลอดใช้ Cetrimide15%+ Chorhexidine 1.5% เจือจาง 1:100 หรือ Chloroxylenol 1:100 หรือ 1:200
ระดับการทำลายเชื้อ
ระดับสูง
สามารถทำลายเชื้อที่ก่อโรคได้ทุกชนิด รวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรีย
น้ำยาทำลายเชื้อ
Glutaraldehyde
Chlorine dioxide
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
ระดับกลาง
สามารถทำลายเชื้อชนิด
Mycobacterium tuberculosis
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อไวรัส
เชื้อรา
แต่ไม่สามารถทำลายสปอร์ของแบคทีเรียได้
น้ำยาทำลายเชื้อ
แอลกอฮอล์
Chlorine compounds
Phenolic
Iodophor
ระดับต่ำ
สามารถทำลายเชื้อชนิด
แบคทีเรีย
เชื้อไวรัส
เชื้อราบางชนิด
ไม่สามารถทำลายเชื้อที่มีความคงทน
Tuberculosis bacilli
สปอร์ของเชื้อแบคทีเรีย
การทำให้ปราศจากเชื้อ
วิธีการทางกายภาพ
การใช้ความร้อน
การเผา
การใช้ความร้อนแห้ง
การต้ม
การใช้ความร้อนชื้น
การใช้รังสี
รังสีเอกส์
รังสีแกมมา
วิธีการทางเคมี
การใช้แก๊ส
Ethylene oxidr gas
Formaldehyde
การใช้ High-level disinfectan
ได้แก่
Glutaraldehyde
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
วิธีการเก็บรักษา
เก็บไว้ในตู้ฝาปิดมิดชิด
เก็บไว้ในที่แห้ง
เก็บไว้ในปริมาณพอเหมาะ
วัสดุปราศจากเชื้อห่อพลาสติกหรือกระดาษ ไม่ควรเอายางรัด
วัสดุที่ห่อและปราศจากเชื้อในสถานพยาบาล ต้องใช้ในกำหนดเวลา หากหมดอายุต้องนำไปห่อใหม่
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
Standard precautions
หลักปฏิบัติ
1 การล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
การล้างมือธรรมดา การล้างมือให้สะอาดโดยการล้างมือแบบ 7 ขั้นตอน
การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อน เป็นการล้างมือเพื่อกำจัดจุลชีพชั่วคราวที่อยู่บนมือก่อนปฏิบัติการรักษาพยาบาล
การล้างมือก่อนทำหัตถการ เพื่อกำจัดจุลชีพหรือลดจำนวนจุลชีพชั่วคราวบนมือก่อนทำหัตถการ
การใช้ Alcohol hand rub ทดแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน
2 สวมเครื่องมือป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่ง
ถุงมือมี 2 ประเภท
ถุงมือปราศจากเชื้อ
ถุงมือสะอาด
เสื้อคลุม
ผ้าปิดปากและจมูก
3 หยิบจับอุปกรณ์มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
4 ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกต้อง
5 บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
6 ทำความสะอาดและทำลายเชื้อ
7 หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน
Transmission-base precautions
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
1 การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอกาศ
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ
ผู้ป่วยโรคเดียวกันจัดให้อยู่ห้องเดียวกัน
อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรง
ผู้ที่เข้าไปในห้องผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมุก ชนิดN95
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
2 การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูกน้ำลาย
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก
ผู้ป่วยโรคเดียวกันจัดให้อยู่ห้องเดียวกัน
หากไม่มีห้องแยกควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ห่างกัน 3ฟุต
ผู้ที่เข้าไปในห้องผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมุก
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
3 การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส
สวมถุงมือเมื่อให้การดุแลผู้ป่วย
ถอดถุงมือและล้างมือด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
สวมเสื้อคลุม
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หากสามารถทำได้ควรแยดอุปกรณ์ชนิด Non-critical items สำหรับผู้ป่วยโดยเฉพาะ
การควบคุมการกระจายเชื้อ
กำจัดเชื้อโรค
แหล่งเชื้อโรค
มนุษย์
สัตว์
สถานที่
ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย
แยกออกจากแหล่งเชื้อ
พยายามรักษาสาเหตุที่ทำให้ภูมิคุ้มกันโรคเสียไป
สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่ ควรให้สะอาดและแห้ง
การทำลายขยะ
การแยกขยะในโรงพยาบาล
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อต้องทำอย่างถูกต้อง
การใช้ยาจุลชีพอย่างถุกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน
การเฝ้าระวังเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
การรักษาที่ได้รับ
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล รวบรวมข้องมูลจากการประเมินแล้วนำข้อมูลที่ได้มาวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู้ผู้อื่น
มีโอกาศเกิดการระบาดของโรคในชุมชน
การวางแผนและให้การพยาบาล
เมื่อได้รับข้อมูลข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
กำหนดวัตถุประสงค์
เกณการณ์ประเมินผล
การพยาบาลตามปัญหาของผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ล้างเมื่อก่อนและหลังการให้การพยาบาล
ใช้หลัก Airborne precautions
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องแก้ผู้ป่วยและญาติ
รายงานอุบัติการณ์การเฝ้าระวังการเกิดโรคต่อคณะกรรมการการติดเชื้อของโรงพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสู้ญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย