Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท, นางสาวธิดารัตน์ ขยันหา 36-1…
บทที่11 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
(Down ’s syndrome)
การรักษา
กระตุ้นพัฒนาการ
ให้คำปรึกษาแนะนําด้านพันธุกรรม
อาการแสดง
มือกว้างสั้น นิ้วก้อยโค้งงอ
ทางเดินอาหารอุดตัน,โตช้า,ตาผิดปกติ
คอสั้น,หูติดต่ำ, ปากอ้าและลิ้นยื่นออก
อวัยวะเพศเล็ก,หูผิดปกติ,ติดเชื้อทางเดินหายใจง่าย
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก(hypotonia) หัวแบนกว้าง (brachiocephaly)
กลุ่มอาการดาวน์ เกิดจาก
บิดามารดาโครโมโซมผิดปกติ
ผิดปกติทางโครโมโซมคู่ที21 ทำให้ปัญญาอ่อน
โรคไข้สมองอกัเสบ Japanese encephalitis (JE)
การรักษา
ให้ยาลดไข้
ลดการบวมของสมอง
ใส่เครื่องช่วยหายใจ
การป้องกัน
ไม่ให้ถูกยุงกัดเวลาพลบคล่ำ
ไม่ควรเลี้ยงหมู
ฉีดวัคซีน 3 ครั้ง
อาการแสดง
อาเจียน ง่วงซึม หายใจไม่สม่ำเสมอ
อาจพิการหรือถึงแก่กรรมได้
มีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย
คำแนะนำ
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
แนะนำการปฎิบัติตัว
วินิจฉัย
IgM antibody
ตรวจจากน้ำไขสันหลัง
การพยาบาล
นอนราบไม่ผูกรัดหรือตรึงผู้ป่วยขณะชักเพื่อป้องกันกระดูกหัก
ดูแลทางเดินหายใจโล่ง
ดูแลให้ยา
โรคสมองพิการ
(Cerebral Palsy)
อาการแสดง
หายใจช้า สำลักนม
เสียการทรงตัว ปัญญาอ่อนพูดไม่ชัด
พัฒนาการช้า
การรักษา
ให้ยาคลายกล้ามเนือ
ทำกายภาพบำบัด
แก้ไขความผิดปกติการรับรู้และระบบประสาท
สาเหตุ
ระยะคลอด
สมองขาดออกซิเจน คลอดยาก รกพันคอ
ระยะหลังคลอด
กระทบกระเทือนที่ศีรษะ สมองผิดปกติ
ระยะก่อนคลอด
เดือนที่6-9 มีเลือดออกทางช่องคลอดของมารดา
การพยาบาล
ได้รับสารอาหารน้อย
ได้รับบาดเจ็บจากการบกพร่องเคลื่อนไหว
เสียงต่อพัฒนาการช้ากว่าวัย
หมายถึง
คนที่ไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหว เช่น
พูดไม่ได้,พูดช้า
พูดกระตุก
Spina bifida
ความบกพร่องกระดูกไขสันหลัง
ชนิด
Meningocele
Myelomeningocele
Spina bifida occulta
การรักษา
ข้อระวัง
อาจติดเชื้อเนื่องจากถุงนำ้แตก
การพยาบาล
ไม่นุ่งผ้าอ้อม
จัดท่านอนตะแคงหรือนอนคว่ำ
ดูแลถุงน้ำให้ชุ่มชื่น ระวังไม่ให้เกิดแผล
หมั่นตรวจสอบการฉีกขาด
ประเมินการติดเชื้อ
ผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
ข้อระวัง
อาจติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะเนืองจากการคั่งของน้ำปัสสาวะ
การพยาบาล
ทำความสะอาดทุกครั้งงหลังขับถ่าย
ทำ Crede’manuever ทุก 2-4 hr
ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
การวินิจฉัย
ติดเชื้อขณะตั้งครรภ์
พบ Alphafetoprotien
ในน้ำคร่ำสูง
ตรวจร่างกายทารกพบความผดิปกติ
โรคลมชัก (Epilepsy)
ชนิดการชักทั่วไป
Primary febrile convulsion (ไม่มีความผิดปกติของสมอง)
Secondary febrile convulsion (มีความผดิปกติของสมอง)
ชนิดลมชัก
Partial seizure ชักกระตุกเฉพาะที
Generalized seizure
Primary
Secondary
สาเหตุ
โรคติดเชื้อของสมอง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
Meningitis
สาเหตุ
แบคทีเรีย,ไวรัส
เชื้อรา,พยาธิ
ตรวจ Cerebrospinal fluid test
อาการแสดง
ปวดศีรษะมาก,ซึมลง,กระหม่อมโป่ง,อาเจียน,ชัก
ระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzinski’s sign ได้ผลบวก
คอแข็ง (Stiffness of neck)
มีไข้จากการติดเชื้อ
การรักษา
ให้ยาปฎิชีวนะ
ฉีดวัคซีน Hib vaccine , JE vaccine,BCG
รักษาตามอาการ
สมองอักเสบ
Encephalitis
สาเหตุ
แบคทีเรีย,ไวรัส
เชื้อรา,พยาธิ
อาการแสดง
ซึมลง ชัก กระสับกระส่าย
หายใจไม่สม่ำเสมอ
ไข้สูง ปวดหัว ปวดค้นคอ
การรักษา
ยาระงับชัก
ดูน้ำเช้า-น้ำออก
ให้ออกซิเจน, เจาะคอ หรือใช้เครืองช่วยหายใจ
รอยโรคในสมอง
พันธุกรรม
Metabolic และ Toxic etiologies
อันตรายจากการคลอด
การรักษา
ใช้ยาระงับอาการชัก
รักษาด้วยอาหาร Ketogenic diet ไขมันสูงคาร์โบไฮเดรตต่ำโปรตีนต่ำ
การฝังเครืองกระตุ้นไฟฟ้า
คำแนะนำ
ทานยากันชักอย่างน้อย 2 ปี
มาพบตามนัดสม่ำเสมอ
Guillain Barre ‘s Syndrome
บวมอักเสบระบบประสาท
อาการแสดง
motor กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการของประสาทสมอง โดยเฉพาะส่วนใบหน้าประสาทสมองคู่ที 7,9,10
Sensation เริ่มมีอาการเหน็บชา เจ็บ และปวด คล้ายตะคริว
อาการลุกลามของประสาทอัตโนมันิส่วน medulla oblongata ควบคุมการทำงานของ อวัยวะสําคัญและเส้นประสาท vagus
การรักษา
เปลี่ยนถ่ายพลาสม่า
Intravenous Immunglobulin (IVIG) สะดวก
ง่ายเสี่ยงน้อยราคาแพง เกิดซ้ำได้
สาเหตุ
เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันร่างกายทำงานผิดปกติของไขสันหลัง ไม่สามารถสั่งงานมาที่กล้ามเนื้อได้
นางสาวธิดารัตน์ ขยันหา 36-1 เลขที่ 50 รหัสนักศึกษา 612001051