Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ ศ 2550, เลขที่ 11 นางสาวรอฮาณี…
บทที่ 10
พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ ศ 2550
พรบ นี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
พรบ นี้ขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
มาตรา1 “พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550”
มาตรา 2 พรบ นี้ให้บังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มทตรา3 ให้ยกเลิก พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2525
มาตรา4
คำนิยาม
“โรงเรียน” สถานศึกษาของเอกชนที่จัดการศึกษาไม่ว่าจะเป็น
ในระบบ
นอกระบบ
“โรงเรียนในระบบ” โรงเรียนที่จัดการศึกษาโดยกำหนดจุดมุ่งหมาย
วิธีการศึกษา
หลักสูตร
ระยะเวลาของการศึกษา
การวัดและประเมินผล
“โรงเรียนนอกระบบ” โรงเรียนที่จัดการศึกษาโดยมีความยืดหยุ่น
ในการกำหนดจุดมุ่งหมาย
รูปแบบ
วิธีการจัดการศึกษา
ระยะเวลาของการจัดการศึกษา
การวัดและประเมินผล
“นักเรียน” ผู้รับการศึกษาในโรงเรียน
“ผู้รับใบอนุญาต” ผู้รับใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียน
“ผู้จัดการ” ผู้จัดการของโรงเรียนในระบบ
“ผู้อำนวยการ” ผู้อำนวยการของโรงเรียนในระบบ
“ผู้บริหาร” ผู้บริหารของโรงเรียนนอกระบบ
“ครู” บุคลากรวิชาชีพซึ่งทำหน้าที่หลัก
ด้านการเรียนการสอน
ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ ในโรงเรียน
“ครูผู้สอน” ผู้ทำหน้าที่
ก้านการเรียนการสอน
ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ ในโรงเรียนนอกระบบ
“บุคลากรทางการศึกษา” ผู้สนับสนุนการศึกษาทำหน้าที่
ให้บริการ
ปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน
การนิเทศ
การบริหารการศึกษาในโรงเรียน
“ผู้อนุญาต”
เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ผอ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ซึ่งเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน มอบหมาย
“คณะกรรมการ”
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
“ตราสารจัดตั้ง”
ตราสารจัดตั้งนิติบุคคลของโรงเรียนในระบบ
“กองทุน” กองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบ
มาตรา5 พรบ นี้ไม่ใช้บังคับแก่
1สถานศึกษาที่มีนักเรียนรวมกันไม่เกิน 7คน
2 สถานศึกษาที่คณะสงฆ์จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การศึกษาอบรม และสั่งสอนพระธรรมวินัย
3 สถานศึกษาอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวงตามข้อเสนอของคณะกรรมการ
มาตรา6ในกรณีมีเหตุจำเป็น รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการ
จะประกาศให้โรงเรียนใดได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตาม พรบ.นี้ในเรื่องใดก็ได้
มาตรา7 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
รักษาการตาม พรบ.นี้
มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวง
กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้าย พรบ.นี้
กำหนดกิจการอื่นตาม พรบ.นี้
หมวดที่ 1
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
มาตรา8 คณะกรรมการส่งเสริมเอกชน ประกอบด้วย
1.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานกรรมการ
2.กรรมการโดยตำแหน่ง
1.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
2.เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3.เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
4.เลขาธิการสภาการศึกษา
5.ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ
6.อธิบดีกรมบัญชีกลาง
7.อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
3.กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้แทนสมาคมเกี่ยวกับโรงเรียนเอกชน จำนวน 2 คน
4.กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ได้รับคัดเลือกจากผู้รับใบอนุญาต ผู้อำนวยการ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ฝ่ายละ 1 คน
5.กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิ 4 คน
ในจำนวนนั้น ต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษาพิเศษสำหรับคนพิการ 1 คน
ให้เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เป็นกรรมการและเลขานุการ
มาตรา9 ให้กรรมการตามมาตรา 8 (3) (4) (5)
มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปี
อาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระมิได้
มาตรา10 กรรมการตาม ม. 8 (3) (4) (5)
ตามวาระ ม.9 พ้นจากตำแหน่งเมื่อ
1.ตาย
2.ลาออก
3.รัฐมนตรีให้ออก
เพราะมีพฤติกรรมเสื่อมเสีย
4.ขาดคุณสมบัติของการเป็นกรรมการ
5.เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ
6.ถูกจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
มาตรา11 ให้คณะกรรมการ ม.8 (3) (4) (5)
พ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระ
ให้ดำเนินการ ต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่โดยเร็ว
เว้นแต่วาระการดำรงตำแหน่งเหลืออยู่ไม่ถึง 90 วัน
มาตรา12 ให้นำกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาบังคับใช้
ในการประชุม
การวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการด้วยอนุโลม
มาตรา13คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่
1.เสนอนโยบายเกี่ยวกับการศึกษาเอกชน การพัฒนาและสนับสนุนโรงเรียน
2.กำกับดูแลการปฏิบัติตาม พรบ.นี้
3.กำหนดมาตรฐานและแผนพัฒนาหลักสูตรการศึกษาเอกชน
4.กำหนดมาตรการช่วยเหลือ ส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียน ครู ผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา
5.ออกระเบียบเกี่ยวกับการเก็บรักษาเอกสารหลักฐานของโรงเรียน
6.เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ
7.ออกระเบียบเกี่ยวกับการวินิจฉัยการร้องทุกข์และการคุ้มครองการทำงาน
8.ออกระเบียบเกี่ยวกับการยื่นอุทธรณ์ การรับอุทธรณ์ วิธีพิจารณาอุทธรณ์และกำหนดเวลาพิจารณาอุทธรณ์ื
9.แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
10.ปฏิบัติงานอื่นตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นกำหนดหรือที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
มาตรา14ให้มีสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนในสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
1.มีเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ พนักงานและลูกจ้าง และรับผิดชอบการดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
มีอำนาจหน้าที่
1.รับผิดชอบงานธุรการ และสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการ
2.เสนอแนะนโยบายยุทธศาสตร์ แผนการพัฒนาการศึกษาเอกชนต่อคณะกรรมการ
3.ส่งเสริม สนับสนุนด้านวิชาการ การประกันคุณภาพ การวิจัย
4.รับผิดชอบการดำเนินการเกี่ยวกับกองทุน
5.ดำเนินการจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาเอกชนตามมาตรการที่คณะกรรมการกำหนดตามมาตรา 13 (4)
6.เป็นศูนย์กลางส่งเสริม สนับสนุนข้อมูล
7.ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
มาตรา15 เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการจัดการศึกษาเอกชน
ในจังหวัดหนึ่งนอกจาก กทม.และปริมณฑล
ให้มีกลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชนเป็นส่วนราชการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาใดในจังหวัดสมควรมีกลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษามากกว่า 1 เขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา16 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาใดมีกลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชนตาม ม.15
ให้คณะกรรมการเขตฯ นั้นมีกรรมการเพิ่มขึ้น 2 คน
หมวดที่ 2
โรงเรียนในระบบ
ส่วนที่ 1
การจัดตั้งและเปิดดำเนินการ
มาตรา17 ประเภทและระดับของโรงเรียนในระบบ
ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา18 การจัดตั้งโรงเรียนในระบบ
ต้องได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา19 ตราสารจัดตั้ง
1.วัตถุประสงค์
2.ชื่อ ประเภท ระดับ ของโรงเรียนในระบบ
3.รายละเอียดเกี่ยวกับที่ดิน
4.เงินทุนและทรัพย์สินในการจัดตั้ง
5.รายการอื่นตามที่กำหนดใน พรบ.นี้
มาตรา20 รายละเอียดเกี่ยวกับ
กิจการจองโรงเรียน
1.โครงการและแผนการดำเนินงาน
2.หลักสูตร วิธีการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล
3.อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นๆ
มาตรา21 คุณสมบัติผู้รับใบอนุญาต
ให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบ
1.มีสัญชาติไทย
2.มีอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
3.สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำว่าปริญญาตรี
4.มีความประพฤติเรียบร้อย
5.เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
มาตรา22 คุณสมบัติผู้ขอรับใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบ
ที่เป็นนิติบุคคล
มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา
นิติบุคคลที่เป็นบริษัทมหาชนจำกัด บริษัทจำกัดหรือห้างหุ้นส่วน ต้องมีจำนวนหุ้นหรือทุนเป็นของผู้ถือหุ้น
นิติบุคคลที่เป็นมูลนิธิ ต้องมีคณะกรรมการที่มีสัญชาติไทยไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของคณะกรรมการ
มาตรา23 ผู้ขอรับใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบต้องมีหลักฐาน
ต้องแสดงหลักฐานให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบแล้ว
โรงเรียนจะได้รับการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดิน
สิทธิเหนือพื้นดินหรือสิทธิเก็บกินที่มีกำหนดเวลาไม่น้อยกว่า 10ปี
มาตรา24 เมื่อได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบแล้ว
ให้โรงเรียนในระบบเป็นนิติบุคคลนับแต่วันที่ได้รับอนุญาต
ผู้รับใบอนุญาตเป็นผู้แทนของนิติบุคคล
มาตรา25 เมื่อโรงเรียนในระบบเป็นนิติบุคคล ให้ผู้รับใบอนุญาต
ดำเนินการ
โอนกรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครองในที่ดิน สิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิเก็บกิน หรือสิทธิการเช่าที่ปลอดจากภาระผูกพัน
ปฏิบัติตามกลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
โอนเงินและทรัพย์สินอื่นเป็นทันนอกจากที่ดิน
ดำเนินการให้มีคณะกรรมการบริหารให้ครบถ้วน ภายในเวาที่ผู้อนุญาตกำหนด
มาตรา26 เมื่อผู้รับใบอนุญาตดำเนินตาม ม.25 แล้ว พร้อมที่เปิดโรงเรียนในระบบ
ให้แจ้งผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30วันก่อนเปิดดำเนินกิจการ
เมื่อผู้อนุญาตตรวจสอบแล้วเห็นว่าผู้รับใบอนุญาตดำเนินการถูกต้อง ให้ดำเนินกิจการได้
กรณีผู้อนุญาตเห็นว่าผู้รับใบอนุญาตยังดำเนินการไม่ถูกต้อง จะสั่งให้โรงเรียนในระบบชะลอการเปิดดำเนินการไปก่อน
ทั้งนี้ผู้อนุญาตต้องแจ้งก่อนเปิดดำเนินกิจการโรงเรียนในระบบไม่น้อยกว่า 7 วัน
มาตรา27 การโอนกรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครองในที่ดินให้แก่โรงเรียนในระบบ
1.เพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษา
2.ให้ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมทั้งปวงตามประมวลกฎหมายที่ดินและภาษีอากร
มาตรา28 ชื่อของโรงเรียนในระบบ
1.ต้องใช้อักษรไทยขนาดใหญ่พอสมควรติดไว้ที่บรเวณโรงเรียน
2.ต้องมีคำว่า “โรงเรียน” ประกอบชื่อด้วย
3.ในกรณีมีอักษรต่างประเทศกำกับ ต้องไม่มีขนาดใหญ่กว่าอักษรไทย
มาตรา29 โรงเรียนในระบบจัดตั้งสาขาได้
การจัดตั้ง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
ห้ามไม่ให้โรงเรียนในระบบ กระทำการใดให้บุคคลอื่นเข้าใจว่าเป็นตัวแทน เครือข่ายหรือสาขาของโรงเรียน
มาตรา30 ให้โรงเรียนในระบบมีคณะกรรมการบริหาร
1.ผู้รับใบอนุญาต
2.ผู้จัดการ
3.ผู้อำนวยการ
4.ผู้แทนผู้ปกครอง
5.ผู้แทนครู
6.ผู้ทรงคุณวุฒิอย่างน้อย1คนแต่ไม่เกิน3คนเป็นกรรมการ
มาตรา31 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร
1.ออกระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ของโรงเรียน
2.ให้ความเห็นชอบนโยบาย และแผนพัฒนาการศึกษา
3.ให้คำแนะนำการบริหารและการจัดการโรงเรียน
4.กำกับดูแลให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน
5.ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้อำนวยการ
6.ให้ความเห็นชอบการกู้ยืมเงินครั้งเดียวหรือหลายครั้งรวมกัน เกินร้อย 25ของมูลค่าทรัพย์
7.ให้ความเห็นชอบรายงานประจำปี
มาตรา32 การกำหนดค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นของโรงเรียน
ให้คำนึงถึงค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา
ค่าตอบแทนครูที่มีความรู้และความสารถที่ดี
ค่าใช้จ่ายอื่นซึ่งรวมถึงค่าใช้จ่ายในการขยายกิจการและผลตอบแทน
ส่วนที่ 2
ทรัพย์สินและบัญชี
มาตรา44 ให้โรงเรียนในระบบ
จัดให้มีกองทุนสำรอง
จัดให้มีกองทุนอื่นตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
มาตรา45 ผลกำไรที่ได้จากการดำเนินกิจการของโรงเรียนในระบบในแต่ละปี คณะกรรมการบริหารจัดสรร
1.ให้โรงเรียนที่ได้รับการอุดหนุนจากรัฐจัดสรรเงินจากผลกำไรเข้ากองทุนส่งเริมโรงเรียน
2.จัดสรรเข้ากองทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
3.จัดสรรให้แก่ผู้รับใบอนุญาตไม่เกินร้อยละ 40
4.ในกรณีที่มีกองทุนอื่น ให้จัดสรรกำไรส่วนที่เหลือเข้ากองทุนอื่น
มสตรา46 ให้ผู้จัดการเป็นผู้รับผิดชอบ
ในการจัดวางระบบ
จัดทำบัญชีของโรงเรียนในระบบให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีตามกฎหมาย
มาตรา47 คณะกรรมการบริหารดำเนินการ
ตรวจสอบบัญชีของโรงเรียนในระบบเพื่อตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงิน ภายใน60วัน นับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชี
ส่วนที่ 3
การอุดหนุนและส่งเสริม
มาตรา48 รัฐพึงให้การอุดหนุนและส่งเสริมโรงเรียนในระบบ
1.จัดบุคลากรทางการศึกษาพร้อมทั้งค่าตอบแทนบุคลากรดังกล่าว
2.จัดตรูพร้อมทั้งค่าตอบแทนครูให้ รวมทั้งจัดหาอุปกรณ์การศึกษา
3.ลดหย่อนหรือยกเว้นอากรขาเข้า
4.ลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีเงินได้
5.ลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีโรงเรือนและที่ดิน
ส่วนที่ 4
กองทุน
มาตรา49 ให้มีกองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบในกระทรวงศึกษาธิการ
มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนสำหรับการกู้ยืม
กองทุนประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน
1.เงินที่โอนมาจากเงินทุนหมุนเวียนเพื่อวิทยาคารสงเคราะห์สำหรับ ร.ร.เอกชนสอนศาสนาอิสลามภาคใต้
2.เงินที่โอนมาจากเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาการศึกษาใน ร.ร.เอกชนในสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
3.เงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายกรณี
4.เงินที่ได้รับจากการจัดสรรจากผลกำไร
5.เงินค่าธรรมเนียม ค่าบริการ และเงินค่าปรับเนื่องจากผิดนัดชำระหนี้กู้ยืม
6.เงินและทรัพย์สินอื่นที่มีผู้บริจาคให้กองทุน
มาตรา50 เงินของกองทุนที่รับโอนมาจากเงินทุนหมุนเวียนเพื่อวิทยาคารสงเคราะห์
ให้แยกบัญชีไว้เป็นการเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการสงเคราะห์สำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
มาตรา51 เงินกองทุนที่ได้รับจากการจัดสรรเงินจากผลกำไรเข้ากองทุน
ถ้าโรงเรียนในระบบที่ส่งเงินนั้นเลิกกิจการ เมื่อได้หักหนี้สินที่โรงเรียนในระบบดังกล่าว ค้างชำระกองทุนแล้ว ให้คืนแก่โรงเรียนในระบบนั้น
มาตรา52 ในกรณีมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษา
มีสิทธิขอกู้ยืมเงินจากกองทุนได้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนด
ในการอนุมัติให้โรงเรียนกู้ยืมเงินจากกองทุน
คณะกรรมการจะอนุมัติให้ไม่ต้องเสียดอกเบี้ย
ไม่ต้องมีหลักประกันในส่วนเงินกู้ยืมที่ไม่เกินจำนวนเงินที่โรงเรียนได้ส่งเข้ากองทุน
มาตรา53 การรับเงิน การเบิกจ่าย การเก็บรักษาเงิน และการบริหารกองทุน ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
ส่วนที่ 5
การสงเคราะห์
มาตรา 45 กองทุนสงเคราะห์เป็นนิติบุคคล มีวัตถุประสงค์เพื่อสงเคราะห์ผู้อำนวยการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา โดยรวมถึง
1 การจ่ายเป็นเงินทุนเลี้ยงชีพ
2 การจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน์
3 การส่งเสริมการออมทรัพย์
4 การจ่ายเงินสวัวสดิการ
มาตรา 55 กองทุนสงเคราะห์ประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน
1 เงินที่โอนมาจากกองทุนสงเคราะห์ตาม พรบ โรงเรียนเอกชน 2545
2 เงินที่ผู้อำนวยการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาส่งเข้ากองทุน
3 เงินที่โรงเรียนในระบบส่งเข้ากองทุน
4 เงินสมทบที่กระทรวงศึกษาธิการส่งสมทบ
5 ทรัพย์สินที่มีผู้บริจาค
6 ดอกผลของเงินและทรัพย์สินของกองทุนสงเคราะห์
มาตรา 56 ดอกผลของเงินและทรัพย์สินของกองทุนสงเคราะห์
1 ดอกผลของเงินกองทุนสงเคราะห์ตามมาตรา 55 (2)
2 ดอกผลของเงินกองทุนสงเคราะห์ตามมาตรา 55 (1) (3) (4) (5) (6)
มาตรา 57 กองทุนสงเคราะห์มีสำนักงานใหญ่ ณ สถานที่ที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด
มาตรา 58 กิจการของกองทุนสงเคราะห์ไม่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน
มาตรา 59 กองทุนสงเคราะห์มีอำนาจกระทำกิจการต่างๆ ภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์
มาตรา 60 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของกองทุนสงเคราะห์
ให้จ่ายจากดอกผลของกองทุนสงเคราะห์ตามมาตรา 56 (2)
ต้องไม่เกินร้อยละ3 ของดอกผลของกองทุนสงเคราะห์
มาตรา 61 คณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์ ประกอบด้วย
1 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน
2 เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
และผู้แทนกระทรวงการคลัง เป็นกรรมการ
3 ผู้แทนสมาคมเกี่ยวกับโรงเรียนเอกชน
4 ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 คน
ด้านการเงิน
ด้านการคลัง
ด้านการบริหารกองทุนหรือกฎหมาย
ผู้อำนวยการกองทุนสงเคราะห์ เป็นกรรมการและเลขานุการ
มาตรา 66 หน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์
กำหนดนโยบาย ออกระเบียบ และข้อบังคับ
กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และเงื่อนไข
กำกับดูแลการจัดการกองทุนสงเคราะห์
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินสวัสดิการสงเคราะห์
อนุมัติงบประมาณรายจ่ายของกองทุนสงเคราะห์
กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการในการรับ เก็บรักษา และจ่ายเงินของกองทุน
มาตรา 67 การประชุมของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการฯ เป็นไปตามระเบียบของคณะกรรมการกองฯ
มาตรา 68 กรรมการกแงฯและอนุกรรมการได้รับประโยชน์ตอบแทนตามระเบียบที่คณะกรรมการกองฯกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
มาตรา 69 ผู้อำนวยการกองฯ1คน ซึ่งคณะกรรมการกองฯแต่งตั้งจากบุคคลมีคุณสมบัติดังนี้
1 มีสัญชาติไทย
2 มีอายุไม่เกิน 65ปี
3 สามารถปฏิบัติงานแก่กองทุนฯได้เต็มเวลา
4 ไม่เคยได้รับโทษจำคุก
ส่วนที่ 6
การคุ้มครองการทำงาน
มาตรา 86 กิจการของโรงเรียนในระบบไม่อยู่ภายใต้บังคับ
กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน
กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์
กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม
กฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน
ส่วนที่ 7
การกำกับดูแล
มาตรา 87 ห้ามผู้รับใบอนุญาต ผู้อำนวยการ ผู้จัดการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ใช้หรือยินยอมให้ผู้อื่นใช่อาคาร สถานที่ และบริเวณของโรงเรียนในระบบ
มาตรา 88 ห้สมโรงเรียนในระบบทำหรือยินยอมให้บุคคลอื่นทำการใดอันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยของประเทศ
มาตรา 89 ห้ามโรงเรียนในระบบหยุดสอนติดต่อกันเกิน 7วัน อันมิใช่เป็นการหยุดตามปกติของโรงเรียน
มาตรา 90 ในกรณีที่ภยันอันตรายหรือเหตุการณ์อันกระทบต่อสวัสดิภาพของนักเรียนหรือการจัดการศึกษาแก่นักเรียน ผู้อนุญาตจะสั่งให้โรงเรียนที่เกี่ยวข้องสอนตามเวลาที่กำหนดก็ได้
มาตรา 91 กรณีที่ปรากฎว่าอาคาร สถานที่ หรือบริเวณโรงเรียนมีสภาพขัดต่อสุขลักษณะหรืออนามัย หรือเป็นอันตรายต่อนักเรียน ผู้อนุญาตมีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือ
มาตรา 92 กรณีอาคาร สถานที่หรือบริเวณโรงเรียนถูกทำลาย ได้รับความเสียหาย ให้ผู้อำนวยการแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบและดำเนินการแก้ไขให้เร็วที่สุด
มาตรา 93 เมื่อโรงเรียนในระบบก่อความเดือดร้อนหรือเสียหายแก่ประชาชน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการตรวจสอบเพื่อทราบข้อเท็จจริงโดยเร็ว
มาตรา 98 การโฆษณาโรงเรียนในระบบต้องไม่เป็นเท็จเกินความจริงหรือขัดต่อความสงบ
มาตรา 99 ผู้อนุญาตอาจสั่งให้ข้าราชการกระทรวงศึกษาธิการไปปฏิบัติงานในโรงเรียนในรับบระหว่างเวลาที่อยู่ในความควบคุมของคณะกรรมการโรงเรียนในระบบได้
มาตรา 108 ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้คณะกรรมการควบคุมโรงเรียนในระบบเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
ส่วนที่ 8
จรรยา มารยาท วินัย และหน้าที่
มาตรา 105 ผู้รับใบอนุญาต ผู้อำนวยการ ผู้บริหาร ผู้จัดการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ให้มีจรรยา มารยาท วินัยและหน้าที่ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
ส่วนที่ 9
การโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบ
มาตรา 106 ผู้รับใบอนุญาตผู้ใดประสงค์จะโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบ
ให้ยื่นคำขอต่อผู้อนุญาตตามหลักเกณฑ์และวิธีการทีกำหนด
มาตรา 107 ในกรณีผู้รับใบอนุญาตตายหรือเป็นคนสาบสูญ และทายาทมีความประสงค์จะดำเนินกิจการต่อไป
ให้ทายาทซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 21
หรือมีทายาทหลายคนให้ตกลงตั้งทายาท1คน ซึ่งมีคุณสมบัติตามมาตรา 21
มาตรา 108 กรณีผู้รับใบอนุญาตเสียจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ เป็นเวลา 1ปี
ถ้าทายาทไม่ประสงค์ดำเนินกิจการต่อ ให้ทายาทยื่นคำขอเลิกกิจการ หรือโอนใบอนุญาตให้บุคคลอื่น
ส่วนที่ 10
การเลิกกิจการและการชำระบัญชี
มาตรา 113 โรงเรียนในระบบเลิกกิจการเมื่อ
1 ผู้รับใบอนุญาตหรือทายาท แล้วแต่กรณี ได้รับอนุญาตให้เลิกกิจการ
2 ผู้รับใบอนุญาตเพิกถอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบ
มาตรา 114 ในกรณีผู้รับใบอนุญาตหรือทายาท ไม่ประสงค์ดำเนินกิจการ
ให้ยื่นคำขอเลิกกิจการโรงเรียนในระบบพร้อมด้วยเหตุผลต่อผู้อนุญาต
มาตรา 115 เมื่อโรงเรียนในระบบเลิกกิจการ
ให้คณะกรรมการบริหารหรือคณะกรรมการควบคุมโรงเรียนในระบบ แต่งตั้งผู้ชำระบัญชีเพื่อชำระบัญชีของโรงเรียนในระบบ
และให้นำความในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยการชำระบัญชีห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด
มาตรา 116 ก่อนได้รับอนุญาตให้เลิกกิจการโรงเรียนในระบบ
ให้ผู้รับใบอนุญาต ผู้อำนวยการ และผู้จัดการมีกน้าที่ส่งมอบเอกสารหลักฐานตามมาตรา 39 (4) (5)
ส่วนที่ 11
การอุทธรณ์
มาตรา 117 ใน กทม และจังหวัดอื่นนอกจาก กทม ให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยประกอบด้วย
กทม
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน
ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุด
เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ประธานกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาใน กทม
จังหวัดอื่นนอกจาก กทม
ผู้ว่าราชการจังหวัด
ผูแทนสำนักงานอัยการสูงสุด
นายก อบจ
ประธากรรมการเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัด
มาตรา 118 ผู้ซึ่งต้องปฏิบัติตามคำสั่งหรือได้รับผลกระทบจากคำสั่งของผู้อนุญาต
ให้มีสิทธิยื่นอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อคณะกรรมการวินิจฉัยอัทธรณ์ได้ภายใน 30วัน
มาตรา 119 การยื่นอุทธรณ์ การรับอุทธรณ์
ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
การอุทธรณ์ไม่เป็นการทุเลาการปฏิบัติตามคำสั่งของผู้อนุญาต
หมวดที่ 3
โรงเรียนนอกระบบ
มาตรา 120 การจัดตั้งโรงเรียนนอกระบบ
ต้องได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
ประเภท ลักษณะ รวมทั้งการจัดการเรียนการสอนและหลักสูตร ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา 121 การขอรับใบอนุญาต และการออกใบอนุญาต
1 ชื่อ ประเภท และลักษณะของโรงเรียนนอกระบบ
2 ที่ตั้ง และแผนผังแสดงบริเวณและอาคาร
3 หลักสูตร วิธีการเรียนการสอน
4 หลักเกณฑ์การคิดค่าธรรมเนียม
5 รายการอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 122 ให้ผู้รับใบอนุญาตจัดให้มีผู้บริหาร 1 คน เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบการบริหารงานของโรงเรียนนอกระบบ
มาตรา 123 ให้โรงเรียนนอกระบบจัดให้มีครูหรือผู้สอนซึ่งมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับหลักสูตร และมีจำนวนที่เหมาะกับนักเรียน
หมวดที่ 4
พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 128 การปฏิบัตหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าไปในโรงเรียนในระหว่างเวลาทำการ
มาตรา 129 การปฏิบัติหน้าที่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่และกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา 117 เผ็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมาย
หมวดที่ 5
บทกำหนดโทษ
มาตรา 130 ผู้ใดจัดตั้งโรงเรียนในระบบโดยไม่อนุญาต ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000บาท
มาตรา 131 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 19 วรรค3 มาตรา 26 วรรค1 มาตรา 28 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 10,000บาท
มาตรา 132 โรงเรียนในระยยใดจัดการเรียนการสอนผิดจากรายละเอียดที่ระบุไว้ หรือเรียกเก็บค่าธรรมเนียมผิดไปจากอัตราที่ระบุ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 10,000บาท
มาตรา 133 โรงเรียนในระบบใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 29 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000บาท
มาตรา 134 ผู้รับใบอนุญาตใดไม่แต่งตั้งผู้อำนวยการ หรือไม่แจ้ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000บาท
มาตรา 135 ผู้รับใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียนในระบบใดแต่งตั้งผู้ไม่มีคุณสมบัติ เป็นผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ ปฏิบัติหน้าที่ แล้วแต่กรณี ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1ปี ปรับไม่เกิน20,000บาท
มาตรา 136 ผู้อำนวยการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 39(4)(5) ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000บาท
มาตรา 137 ผู้ใดปลอมเอกสารหลักฐานตามมาตรา 39 (4)(5) ทั้งฉบับหรือสาวนใดส่วนหนึ่ง ตัดทอนข้อความ แก้ไขประทับตราปลอม ลงลายชื่อปลอมในเอกสารหลักฐานนั้น ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่6 เดือน ถึง5ปี /ปรับตั้งแต่ 10,000-100,000บาท/ทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา138 โรงเรียนในรับบใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 42 วรรค1 หรือไม่จัดทำเอกสารเป็นภาษาไทย ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน50,000บาท
มาตรา 139 ผู้จัดการผู้ใดไม่ปฏิบัติตามาตรา 46 วรรค1 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000บาท
มาตรา 140 โรงเรียนในระบบใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 46 วรรค2 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000บาท
มาตรา 141 ผู้รับใบอนุญาต ผู้อำนวยการ ผู้จัดการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 47 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน6เดือน ปรับไม่เกิน10,000บาท /ทั้งจำทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา 155 ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน สิทธิ ภาระผูกพันทั้งปวง เงินและรายได้ของเงินทุนหมุนเวียนเพื่อวิทยาคารสงเคราะห์สำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสตาอิสลาม
มาตรา 156 ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน สิทธิ ภาระผูกพันทั้งปวง เงินและรายได้ของกองทุนสงเคราะห์ครูใหญ่ และครูโรงเรียนเอกชนที่จัดตั้งขึ้นตาม พรบ โรงเรียนเอกชน 2545 เป็นของกองทุนสงเคราะห์
มาตรา 159 โรงเรียนที่จัดตั้งขึ้นตาม พรบ โรงเรียนเอกชน พ ศ 2525 เป็นโรงเรียนในระบบหรือนอกระบบแล้วแต่กรณี ผู้รับใบอนุญาตจะต้องดำเนินการเกี่ยวกับที่ดินและทรัพย์สิน
มาตรา 160 ในระหว่างที่ยังไม่มีคณะกรรมการบริหารตามมาตรา30 ให้ผู้ซึ่งดำรงตำแหน่งในคณะกรรมการอำนวยการอยู่ในวันที่ พรบ นี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา 161 ในระหว่างที่ยังไม่มีคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์ ให้คณะกรรมการการศึกษาเอกชน ปฏิบัติหน้าที่แทน จนกว่าจะมีคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์
มาตรา 162 ผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้จัดการ ครูใหญ่ และครูตามพรบ โรงเรียนเอกชน พ ศ 2525 แล้วแต่กรณี ดำเนินการเพื่อขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพควบคุมตามกฎหมายให้แล้วเสร็จภายใน 180วัน
มาตรา 163 ให้ครูใหญ่และครู มีสิทธิได้รับเงินทุนเลี้ยงชีพประเภท 2 เมื่อออกจากงาน ยังคงมีสิทธิได้รับเงินทุนเลี้ยงชีพประเภท2 และได้รับสิทธิประโยชน์เช่นเดิม
มาตรา 164ผู้ซึ่งขอรับใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนก่อนวันที่ พรบ นี้ใช้บังคับให้ดำเนินการต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ
มาตรา 165 บรรดาคำร้องใดที่ได้ยื่นไว้ก่อนวันที่ พรบ นี้ใช้บังคับให้ดำเนินการต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ
มาตรา166ในระหว่างที่ยังมิได้ออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศเพื่อปฏิบัติการตาม พรบ นี้ ให้นำกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศออกตาม พรบ โรงเรียนเอกชน 2525 มาใช้บังคับโดยอนุโลม เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพรบ นี้
เลขที่ 11 นางสาวรอฮาณี ประดู่
รหัส 6220160399