Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ, นางสาวกุลรัตน์ สุขสวย เลขที่5 ห้อง1B…
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
สาธารณสุข(Health)
สาธารณสุขศาสตร์ “ศาสตร์และศิลปะที่เกี่ยวข้องกับ การดูแลและจัดการสุขภาพ
ทั้งปวงของชุมชนโดยอิงตามการวิเคราะห์ด้านสุขภาพของประชากร
สภาพของการมีชีวิตทางกายภาพ จิตใจ สังคม ไม่ใช่แค่โรคภัยเท่านั้น
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
คือการที่มีเศรษฐศาสตร์กับสาธารณสุขรวมตัวกัน
ทรัพยากรสุขภาพมีจำกัดบวกกับความต้องการของมนุษย์ไม่จำกัดทำให้เกิดความขาดแคลน
ปัญหาความขาดแคลนคือ การตัดสินใจหาทางเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ทางเลือกที่เกิดประสิทธิภาพในการจัดบริการสุขภาพEfficiency
ทางเลือกที่เกิดความเป็นธรรมในการจัดบริการสขภาพEquity
องค์ประกอบเบื้องต้นในการศึกษาเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
ระบบบริการสาธารณสุข
มีระบบทำอย่าไร ปัจจัยและวัตถุดิบในการผลิต
การดำเนินการในการรักษาพยาบาล
ความจำเป็น ค่าใช้จ่าย ความเสมอภาค ประสิทธิภาพ
สุขภาพ
สุขภาพคืออะไร วัดได้อย่างไร การให้คุณค่าเมื่อเปรียบกับสินค้าทั่วไป
ผลิตอะไร what? ผลิตอย่างไร How? ผลิดเพื่อใคร for whom?
ต้นทุน ผลประโยชน์ นโยบาย
ความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพ
สุขภาพล้วนเป็นหัวใจหลักที่เชื่อมโยงและส่งผลกระทบต่อปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม ระบบบริการสาธารณสุข และทั้งสามที่กล่าวมานี้ก้ส่งผลต่อสุขภาพเช่นกัน
ระบบสุขภาพ(Health care system)
ระบบสุขภาพ หมายถึง ระบบการจัดการสุขภาพทั้งมวล ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ปัจจัยต่าง ที่เกี่ยวกับสุขภาพ
ได้แก่ ปัจจัยด้านบุคคล สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ชีวภาพ
เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา กฎหมาย ศาสนา วัฒนธรรม
ประเพณี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นต้น
ระบบบริการสุขภาพ
ประเภท
ระบบสุขภาพแบบครอบคลุมและเท่าเทียมกัน
รัฐได้มีบทบาทในระบบบริการสุขภาพมาก เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพอย่างครอบคลุม ภายใต้เงื่อนไขเศรษฐกิจของประเทศ ประชาชนสามารถรับบริการโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายด้วยตัวเอง
ระบบสุขภาพแบบสวัสดิการ
รัฐเข้ามาแทรกแซง กลไกการตลาดในการจัดบริหารสุขภาพหลายๆทาง เช่น ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
ระบบสุขภาพแบบสังคมนิยม
รัฐเข้าไปจัดการสุขภาพอย่างสิ้นเชิง และไม่อนุญาตให้มีกลไกการตลาดใดๆ ประชาชนทุกคนได้รับบริการจากรัฐ
ระบบสุขภาพแบบเสรีนิยม
มีการจัดบริการสุขภาพในรูปแบบเอกชนที่แข่งขันภายใต้ตลาดเสรี รัฐเข้าไปแทรกแซงการตลาดน้อย ส่วนใหญ่เป็นเอกชน เป็นความรับผิดชอบของบุคลลที่จะดูแลตนเอง
จัดหาสาธารณูปโภคให้แก่ประชาชน
รักษากฎหมาย
รัฐรักษาระดับมาตรฐานการครองชีพขั้นต่ำของประชาชน
องค์ประกอบด้านการจัดบริการสุขภาพ
Primary Care
Health Center
Sub-DIstricts
PHC
Village
Secondary Care
Districts
Community hospital
self care
Family
ExceHence Center Tertiary
Universities hospital General Regional
Province
ข้อมูลพื้นฐานกระทรวงสาธารณสุข
ระดับตติยภูมิ
โรงพยาบาลทั่วไป
ระดับทุติยภูมิ
โรงพยาบาลชุมชน
ระดับผู้เชี่ยวชาญ
โรงพยาบาลศูนย์
ระดับปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล
การเข้าถึงบริการ(Accessibility)
ความเพียงพอของบริการที่มีอยู่ (Availability)
ความสัมพันธ์ระหว่างบริการที่มีอยู่ กับ ชนิดของผู้ใช้บริการ
การเข้าถึงแหล่งบริการ (Accessibility)
ความสัมพันธ์ระหว่างสถานที่ตั้งของแหล่งบริการ กับ ความสามรถที่ผู้บริการจะไปถึงแหล่ง
ความสะดวกและสิ่งอำนวยความสะดวกของแหล่งบริการ (Accommodation)
ความสัมพันธ์ของแหล่งบริการ กับ การยอมรับของผู้ใช้บริการว่าสะดวก
ความสามารถในการจ่าย (Affordability)
ความสัมพันธ์ของค่าใช้จ่ายของบริการกับ รายได้ของผู้รับบริการ
การยอมรับคุณภาพ (Acceptability)
ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติของผู้รับบริการ กับ ผู้ใช้บริการ
บทบาทเจ้าหน้าที่กับเศรษฐศาตร์สาธารณสุขเพื่อการจัดบริการสุขภาพ
มีทักษะด้านการบริหารจัดการโดยเฉพาะการบริหารต้นทุนในสถานบริการสุขภาพ
เข้าใจพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพทั้งทางด้านอุปสงค์และอุปทานสุขภาพ
กำหนดอัตราค่าบริการ
กำหนดการผลิตบริการสุขภาพ
ช่วยในการจัดการด้านกำลังคนด้านสุขภาพ
ทำให้เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคทางด้านสาธารณสุขในการตัดสินใจในการเลือกรับบริการการรักษา
ใช้ข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์เพื่อใช้ในการเลือกดูแลสุขภาพ
การวิเคราะห์ความน่าจะเป็น (Probability)
การวิเคราะห์การตัดสินใจ (Decision-making Analysis)
ให้เข้าใจแผนงบประมาณและนำมากำหนดนโยบายสุขภาพ
การผลิตสินค้าและบริการสาธารณสุขโดยภาครัฐ
กาผลิตสินค้าและบริการโดยรัฐ มีจุดมุ่งหมายหลักไม่ใช่แสวงหากำไรสูงสุด
แต่เพื่อกระจายบริการให้ทั่วถึงที่สุด เพื่อยกระดับสถานะสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ได้ผลมากที่สุด
ความสัมพัธ์ระหว่างระบบสุขภาพเศรษกิจ
ผลของสุขภาพที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศ
เช่นด้านการควบคุมโรค โรคระบาด และการสุญเสียประสิทธิภาพในการทำงาน
ผลกระทบของเศรษฐกิจที่มีต่อสุขภาพ
เช่น การว่างงาน ในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
ประเภทการศึกษาเศรษศาตร์ในระบบสุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับมหาภาค (Macroeconomic study)
การศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพโดยรวม
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับจุลภาค (Microeconomic study)
การศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพระดับย่อย
การวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
การกระจายทรัพยากรและการใช้เทคโนโลยี
ประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร
ต้นทุนการบริการสาธารณสุข
ประสิทธิภาพของการรักษาพยาบาล
ความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกันในด้านสุขภาพ
การวิเคราะห์และการประเมินการบริการสาธารณสุข
นางสาวกุลรัตน์ สุขสวย เลขที่5 ห้อง1B รหัสนักศึกษา 623601095