Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ, นางสาว ไอลดา. ผ่องแผ้ว ห้อง1B เลขที่ 89…
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
องค์ประกอบ และคําถามเบื้องต้นในการศึกษาเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
สุขภาพ (Health)
ระบบการให้บริการสาธารณสุข
(Health care system)
การดําเนินการทางด้านการรักษาพยาบาล
(Health care service)
• ผลิตอะไร What?
• ผลิตอย่างไร How?
• ผลิตเพื่อใคร For whom?
วิทยาศาสตร์สุขภาพ + สังคมศาสตร์ = เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข (Health Economics)
ทรัพยากรสุขภาพมีจํากัดแต่ความต้องการ
ของมนษุย์ไม่จํากัด
เกิดความขาดแคลน
การแก้ปัญหาการขาดแคลน คือการตัดสินใจหาทางเลือก
ทางเลือกทีเกิดความ เป็นธรรมในการจัดบริก ารสุขภาพ Equity
ทางเลือกที่เกิดประสิทธิภาพในการจัดบริการสุขภาพ Efficiency
แนวคิดเรื่องสุขภาพ
สาธารณสุข (Health)
สาธารณสุขศาสตร์“ศาสตร์และศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและจัดการสุขภาพทั้งปวงของชุมชนโดยอิงตามการวิเคราะห์ด้านสุขภาพของประชากร ”
ระบบบริการสุขภาพ( Type of health care system)
ระบบสุขภาพแบบสังคมนิยม
รัฐเข้าไปจัดการสุขภาพอย่างสินเชิงและไม่อนญุาตให้มีกลไกการตลาดใดๆ ประชาชนทุกคนได้รับบริการจากรัฐ
การเข้าถึงบริการ
(Accessibility)
ความสามารถในการจ่าย (Affordability)
การเข้าถึงแหล่งบริการ (Accessibility)
การยอมรับคุณภาพ (Acceptability)
ความสะดวกและสิ่งอำนวยความสะดวกของแหล่งบริการ (Accommodation)
ความเพียงพอของบริการที่มีอยู่ (Availability)
ระบบสุขภาพแบบครอบคลุมและเท่าเทียมกัน
รัฐได้มีบทบาทในระบบบริหารสุขภาพมาก เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพอย่างครอบคลุมภายใต้เงื่อไขเศรษฐกิจของประเทศ ประชาชนสามารถรับบริการโดยเสียค่าใช้จ่ายด้วยตัวเอง
ระบบสุขภาพแบบสวัสดิการ
เป็นระบบบริการสาธารณสุข ที่รัฐได้เข้ามาแทรกแซง
กลไกการตลาดในการจัดบริการสุขภาพหลายๆทาง
รัฐมีส่วนรับผิดชอบเรื่องสุขภาพของประชาชน
ระบบสุขภาพแบบเสรีนิยม
มีการจัดบริการสุขภาพในรูปแบบเอกชนที่แข่งขันภายใต้ตลาดเสรี รัฐมีส่วนเข้าไปแทรกแซงกลไกการตลาดน้อย หน่วยบริการส่วนใหญ่เป็นเอกชน
เป็นความรับผิดชอบของบุคคลที่จะดูแลตัวเอง
ข้อมูลพื้นฐานกระทรวงสาธารณสุข
ระดับศูนย์เชี่ยวชาญ
โรงพยาบาลศูนย์
ระดับตติยภูมิ
โรงพยาบาลศูนย์
ระดับทุติยภูมิ
โรงพยาบาลชุมชน
ระดับปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ระดับตำบล
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสุขภาพกับเศรษฐกิจ
รายจ่ายเพื่อสุขภาพ
การพัฒนาทางเศรษฐกิจ
สถานภาพทางด้านสุขภาพอนามัย
ผลกระทบ
ลักษณะที่ 1 ผลกระทบของเศรษฐกิจทีมีต่อสุขภาพ เช่นการว่างงาน ในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
ลักษณะที 2 ผลของสุขภาพทีมีต่อเศรษฐกิจของประเทศ เช่นด้านการควบคุมโรค โรคระบาด และการสุญเสียประสิทธิภาพในการทํางาน
การผลิตสินค้าและบริการสาธารณสุขโดยภาครัฐ
การผลิตสินค้าและบริการสุขภาพโดยภาครัฐ มีจุดหมายหลักไม่ใช่ก ารแสวงหากำไรสูงสุด แต่เพื่อการกระจายบริการให้ทั่ว ถึงที่สุด และเพื่อยกระดับสถานะสุขภาพอนามัยของประชาชนให้ได้ผลสูงสุด
นโยบายการคลัง มีการกําหนดนโยบายที่สนองและสอดคล้องกับปัญหาสุขภาพ และจะนําไปสู่การบรรลุเป้าหมายหลัก
กระจายบริการให้ทั่ว ถึงที่สุดครอบคลุมถึงการจัดให้มีบริการในที่ต่างๆอย่างทั่วถึง
ยกระดับสุขภาพอนามัยของประชาชน
บทบาทเจ้าหน้าที่กับเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
เพื่อการจัดบริการสุขภาพ
ทําให้เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคทางด้านสาธารณสุขในการตัดสินใจ ในการเลือกรับบริการรักษาบริโภคยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ช่วยในการจัดการ้านกำลังคนด้านสุขภาพ
มีทักษะด้านารบริหารจัดดารโดยเฉพาะการบริหารต้นทุนในสถานบริการสุขภาพ
เข้าใจพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพทั้งด้านอุปสงค์และอุปทานสุขภาพ
แนวคิดในการจัดสรรทรัพยากรสุขภาพพิจารณาจาก
Need
การใช้บริการ
(Utilisation)
อุปทาน
(Supply)
อุปสงค์
(Demand)
ความจำเป็น(Need)
ลักษณะเศรษฐกิจและสังคม
รายได้
การศึกษา
อาชีพ
พื้นที่อยู่อาสัย
ลักษณะทางประชากร
กลุ่มอายุและเพศ
จำนวนประชากร
ลักษณะด้านสุขภาพ
ความรุนแรง
การเจ็บป่วย
การตาย
ประเภทการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในระบบสุขภาพ
การวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
(Type of health economics study)
ประสิทธิภาพของการรักษาพยาบาล
ประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร
ความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกันในด้านสุขภาพ
ต้นทุนการบริการสาธารณสุข
การกระจายทรัพยากรและการใช้เทคโนโลยี
การวิเคราะห์และการประเมิณการบริการสาธารณสุข
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับมหาภาค
(Macroeconomic study)
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพโดยรวม
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับจุลภาค
(Microeconomic study)
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพระดับย่อย
พฤติกรรมของผู้บรการ
พฤติกรรมของผู้ให้บรการ
พฤติกรรมของในตลลาดสุขภาพ
ผู้วางแผน (Planner) ผู้กําหนดนโยบาย (Policy maker)
การกำหนดโครงการ
การจัดสรรทรัพยากร
ผู้ให้บริการ
(แพทย์ ทัตนแพทย์ พยาบาล สาธารณสุข)
การบำบัดรักษา
การวินิจฉัยโรค
การส่งเสริมสุขภาพ
การควบคุม ป้องกัน และการฟื้นฟูสภาพ
นางสาว ไอลดา. ผ่องแผ้ว ห้อง1B เลขที่ 89 รหัส 623601180