Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพ การดูแลช่วยเหลือมารดา และทารกในระยะคลอดปกติ,…
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพ การดูแลช่วยเหลือมารดา และทารกในระยะคลอดปกติ
การซักประวัติ
ประวัติทางสูติกรรมและการฝากครรภ์
ประวัติผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
ประวัติที่นำผู้คลอดมาโรงพยาบาล
การเจ็บครรภ์คลอด (Labour pain)
น้ำเดินหรือถุงน้าคร่ำแตก (Membrane leak or membrane rupture)
สารคัดหลั่งจากช่องคลอด (Show)
ลักษณะเจ็บครรภ์จริง
การหดรัดตัวของมดลูก
สม่าเสมอ
เริ่ม
ถี่ทุก 10 นาที
แล้วถี่ขึ้นเรื่อยๆและรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ปวดบริเวณ
ส่วนหลังร้าวมาหน้าขา
ปวดรุนแรงขึ้นเมื่อเดิน
อาการปวด
ไม่สามารถยับยั้งโดยการฉีดยาระงับปวดได้
ปากมดลูก
- นุ่มและเปิดขยาย
สารคัดหลั่งจากช่องคลอด
มีมูกหรือมูกเลือดออกทางช่องคลอด มีน้ำเดิน
ลักษณะเจ็บครรภ์เตือน
การหดรัดตัวของมดลูก
ไม่สม่าเสมอห่างกว่า 10 นาที
ความถี่และความรุนแรงไม่เปลี่ยนแปลง
ปวดบริเวณท้องน้อย
หายปวดเมื่อเดิน
หรือเปลี่ยนท่าอาการปวดจะดีขึ้นสามารถ
ยับยั้งอาการปวดเมื่อฉีดยาระงับปวด
ปากมดลูก
อาจะนุ่ม และยังปิดอยู่
สารคัดหลั่งจากช่องคลอด
ไม่มี
การตรวจร่างกาย
ลักษณะทั่วไปของผู้คลอด
น้ำหนักส่วนสูง
อาการซีดอาการบวม
ความผิดปกติของเต้านมและหัวนม
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
ความผิดปกติของอวัยวะสืบพันธุ์
สัญญาณชีพ
การตรวจครรภ์
Fundal grip
ตรวจระดับ
ยอดมดลูก
Umbilical grip
เป็นการคลำเพื่อหา
ส่วนหลัง
ของทารก
Pawlik s grip
เป็นการตรวจ
หาส่วนนำขอ
งทารก
Bilateral inguinal grip
เป็น
การตรวจเพื่อดู engagement
ตรวจหา
ส่วนนำและตรวจหาลักษณะการก้มหรือเงยของหัวทารก
การตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
(Uterine contraction)
ความนานในการหดรัดตัวของมดลูก (Duration)
ระยะห่างในการหดรัดตัวของมดลูก (Interval)
ความถี่ของการหดรัดตัวของมดลูก (Frequency)
ความแรงในการหดรัดตัว (Intensity)
ระยะพักหรือระยะมดลูกคลายตัว (Resting period or Relaxation)
การหดรัดตัวของมดลูก
Latent phase
Interval 5-10 นาที
Duration 15-30 วินาที
Active phase
Interval 3-4 นาที
Duration 45-60 วินาที
การตรวจภายในของผู้คลอด (Pelvic examination or PV)
ลักษณะของปากมดลูก
ได้แก่ ความนุ่ม/แข็ง หรือบวม
การเปิดขยายของปากมดลูก (Cervix dilatation)
การตรวจโดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลาง
ความบางของปากมดลูก (Effacement)
ส่วนนำ (Station)
ถุงน้ำคร่ำ (Membrane)
การมี Moulding
การตรวจสภาพช่องเชิงกราน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจปัสสาวะ
Urine albumin
Urine Sugar
EFM
Ultrasound
X ray
การประเมินทางจิต สังคม
อายุของผู้คลอด
สถานภาพสมรส
ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม
ศาสนาและวัฒนธรรม
ประสบการณ์การคลอดและความคาดหวัง
ต่อการคลอด
ความสัมพันธ์ในครอบครัวและการช่วยเหลือ
ภาวะความวิตกกังวลต่อการคลอดครั้งนี้
การประเมินสภาพทารกในครรภ์
ประเมินได้จากการเต้นของหัวใจทารกและการดิ้นของทารกในครรภ์ 110 160 bpm)
Latent Phase
ควรประเมิน
ทุก 1 ชั่วโม
ง
Active Phase
ควรประเมินทุก
30 นาที
ควรประเมินหลังมดลูก
คลายตัวแล้ว 20-30นาที
เมื่อ
ถุงน้ำแตก ต้องฟัง FHS
ทันทีเพราะอาจมีการพลัดต่าของสายสะดือ
การประเมินความก้าวหน้า
Friedman curve
ระยะเฉื่อย (Latent phase)
ระยะเร่ง (Active phase)
Acceleration phase
ปากมดลูกเปิดขยายในช่วงระหว่าง 3-4 เซนติเมตร
ใช้ระยะเวลา 2 ชั่วโมงในครรภ์แรกและ 1 ชั่วโมงในครรภ์หลัง
Phase of maximum slope
ปากมดลูกเปิดตั้งแต่ 4 – 9 ซม. ใช้เวลา 2 ชั่วโมงในครรภ์แรกและ 1 ชั่วโมงในครรภ์หลัง
Deceleration phase
เปิดตั้งแต่ 9 – 10 ซม. ใช้เวลา 1 ชั่วโมงในครรภ์แรกและ 1/2 ชั่วโมงในครรภ์หลัง
การเกิด Descent
WHO partograph
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ให้การพยาบาลที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการคลอด
ที่ยาวนานและการคลอดติดขัด
ส่วนประกอบ
ส่วนที่ 1 สภาพของทารก (fetal conditions)
การบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารก (Fetal heart rate)
Latent phase ทุก 1 ชม
Active phase ทุก 30 นาที
ถุงน้ำคร่ำ (Liquor) ตรวจพร้อมกับการเปิดขยายของปากมดลูก
I = membrane intact
SRM = Spontaneous rupture of membrane, ARM =Artificial rupture ofmembrane
C =clear, M =meconium strained , A = absent, B = bloody
การเกยกันของศีรษะทารก (molding) = 0 1 2 , 3
ส่วนที่ 2ความก้าวหน้าของการคลอด
(progression of labor)
การเปิดขยายของปากมดลูก (cervical dilatation)
Latent phase
Active phase
เส้นตื่นตัว (Alert line)
การคลอดปกติจะต้องอยู่ทางด้านซ้ายของเส้นตื่นตัวเสมอ
เส้นปฏิบัติการ (Action line)
การตรวจภายใน ประเมินดังนี้
การเปิดขยายของปากมดลูก (cervical dilatation) ลงบันทึก X
Latent phase ทุก 4ชม
Active phase ทุก 2 ชม
การเคลื่อนลงต่ำของศีรษะทารก (descent of fetal head) ให้ตรวจไปพร้อมกับการเปิดขยายของปากมดลูก
การหดรัดตัวของมดลูก (uterine contractions)
Latent phase ทุก 1ชม
Active phase ทุก 30นาที
การเคลื่อนลงต่าของศีรษะทารก (descent of fetal head) ลงบันทึกO
ส่วนที่ 3 การให้ยาและการรักษา
(drug and treatment)
การให้ยาออกซิโตชิน (oxytocin)
การให้ยาและการให้สารน้ำ
ส่วนที่ 4 สภาพของมารดา
(maternal conditions)
Vital signs
ผลการตรวจ Urine
การพยาบาลในการเตรียมด้านร่างกายและจิตใจเพื่อการคลอด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด
ดูแลปรับเปลี่ยนท่า
ควรดูแลให้ผู้คลอดอยู่ในท่าที่ทำให้ทารกเคลื่อนต่ำตามแรงโน้มถ่วงของโลก
ดูแลในการขับถ่ายปัสสาวะ
เพื่อไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม
ดูแลทางด้านจิตใจ
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
Interval, Duration, Intensity or severity
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดและลงบันทึก โดยการตรวจภายใน
Latent, Active phase
การพยาบาลเพื่อความสุขสบายของผู้คลอด
การผ่อนคลายความเจ็บปวดในการคลอด
เช่น การลูบหน้าท้อง นวดหลัง การควบคุมการหายใจ ให้กาลังใจ ตอบคาถามที่ผู้คลอดสงสัย
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การพักผ่อน
ปากมดลูกเปิดไม่มาก/ถุงน้ำยังไม่แตกปากมดลูกเปิดมาก/เจ็บครรภ์มาก กรณีถุงน้าแตก ได้รับ analgesic drug
อาหาร
Latent phase สามารถให้อาหารได้ตามปกติ
Active phase ควรให้เป็นอาหารอ่อน/น้ำเพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ/น้ำตาลในกระแสเลือดหรือ NPO
การขับถ่าย
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
การขับถ่ายอุจจาระ
ความสะอาดของร่างกาย
การดูแลให้ได้รับยาบรรเทาปวดตามแผนการรักษา
Vital signs
การพยาบาลด้านจิตสังคม
การประเมินความต้องการ/การตอบสนอง
เคารพความเป็นบุคคล
ให้คำอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการคลอด
และแผนการรักษา
มีเมตตา เป็นมิตร คาชมเชย
การเปิดขยายของปากมดลูก
ช่วงปากมดลูกเปิด 8 -10เซนติเมตร (transitional
phase)
ครรภ์แรกใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโม
ครรภ์หลังใช้เวลาประมาณ 30 นาที
ปากมดลูกเปิด 0 -3 เซนติเมตร (latent phase)
ครรภ์แรกจะใช้เวลาได้ถึง 9 ชั่วโมง
ครรภ์หลังใช้เวลาประมาณ 5 6 ชั่วโมง
ช่วงปากมดลูกเปิด 4 -7 เซนติเมตร (active phase)
ครรภ์แรกอาจใช้เวลาถึง 6 ชั่วโมง หรือเปิดเฉลี่ย 1.2เซนติเมตร ต่อชั่วโมง
ครรภ์หลังใช้เวลาได้จนถึง 4 ชั่วโมง หรือเปิดเฉลี่ย 1.5 เซนติเมตรต่อชั่วโมง
สรุปหลักสำคัญของ WHO partograph
Latent phase
ต้องไม่เกิน 8 ชม. ตั้งแต่เริ่มบันทึก
Active phase
เริ่มตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 3 ซม. ขึ้นไป และอัตราเปิดขยายของปากมดลูกต้องไม่น้อยกว่า 1 ซม.ต่อชั่วโมง หรืออยู่ทางซ้ายมือของเส้นตื่นตัว (alert line line)เสมอ
Referral zone
หรือพื้นที่ที่อยู่ระหว่างเส้น alert line
กับเส้น action lineในสถานที่ที่ไม่พร้อมควรส่งผู้ป่วยที่มีการคลอดระยะที่หนึ่งผิดปกติ หรือเส้นกราฟตัดเส้นตื่นตัว ไปรับการรักษาต่อซึ่งจะมีเวลาในการส่งต่อ 4ชั่วโมง
อาการเมื่อเข้าสู่ระยะที่สองของการคลอด
Positive signs :
การตรวจทางช่องคลอด จะคลาไม่พบปากมดลูก
Probable signs :
ผู้คลอดมีความรู้สึกอยากเบ่ง ขณะที่มดลูกมีการหดรัดตัว
มีเลือดสีแดงไหลออกทางช่องคลอด(bloody show)
มีการแตกของถุงน้าคร่า
ทวารหนักตุงและถ่างขยายในขณะที่ผู้คลอดเบ่ง แต่จะผลุบเข้าไปเมื่อหยุดเบ่ง
ปากช่องคลอดเปิดออกเล็กน้อย
มองเห็นส่วนนำของทารกทางช่องคลอด
ฝีเย็บตึง ผิวหนังเป็นมันใส
ไม่สุขสบายเนื่องจากเจ็บครรภ์คลอด
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้คลอดสามารถเผชิญความเจ็บปวดในระยะรอคลอด
การพยาบาล
อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการคลอด
ประเมินระดับความเจ็บปวดจากการเจ็บครรภ์คลอด
ซักถาม
สังเกตสีหน้าท่าทาง และพฤติกรรม
สังเกตและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลบรรเทาความเจ็บปวด เช่น การลูบหน้าท้อง นวดหลัง การควบคุมการหายใจ
ดูแลให้ได้รับการพักผ่อน
ประคับประคองทางด้านจิตใจ
ประเมิน vital signs
เสี่ยงต่อภาวะ Fetal distress จากการหดรัดตัวของมดลูกที่ถี่และรุนแรงขึ้น
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันภาวะ Fetal distress
การพยาบาล
ประเมินและติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทารก ในระยะ Latent phase ทุก 1 ชั่วโมง Active phase ทุก 30 นาที และเมื่อถุงน้าแตก
แนะนำให้นอนตะแคงด้านซ้าย
ติดตามบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกในระยะ Latent phase ทุก 1 ชั่วโมง Active
phase ทุก 30 นาที
สังเกตลักษณะของน้าคร่าเมื่อถุงน้ารั่วซึมหรือแตก
รายงานเมื่อพบภาวะ Fetal distress