Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงไทย อายุ 19 ปี G1 P0-0-0-0 GA 31+3 weeks by date, ถ้าไม่มีการเปิดของปา…
หญิงไทย อายุ 19 ปี G1 P0-0-0-0 GA 31+3 weeks by date
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 37.4 กิโลกรัม
ส่วนสูง 155 เซนติเมตร
BMI 15.58
น้ำหนักปัจจุบัน 45.6 กิโลกรัม
อายุครรภ์ 31 สัปดาห์ ขึ้นมา 8.2 Kg
อีก 9 สัปดาห์ คิดตามน้ำหนักที่ควรขึ้น
4.5 kg
มารดา BMI = under weight
:warning: น้ำหนักขึ้นได้ 12.5-18 kg
8.2 + 4.5 = 12.7
อยู่ในเกณฑ์แต่ค่อนข้างต่ำ
พิจารณาตาม Vallop curve พบปัญหาทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม
ประวัติการเจ็บป่วย
โรคประจำตัว ไม่มี
บิดา เบาหวาน
ประวัติการแพ้ ปฏิเสธ
ประวัติการผ่าตัด ปฏิเสธ
คัดกรอง BS 50 gm = 90 (น้อยกว่า140 mg/dl) ปกติ
GA 6 wk มีเลือดออกขนาดเท่าเหรียญ 5 แพทย์ รพ.หัวเฉียว ตรวจ U/S สันนิฐาน
threatened abortion
การแท้งคุกคาม (threatened abortion) คือ การมีเลือดออกจากมดลูกโดยที่ปากมดลูกยังปิด ในช่วงอายุครรภ์ก่อน 20 สัปดาห์
อาการ
:check:มีเลือดออก
:check:ปวด/ไม่ปวดท้อง
:check:ปากมดลูกไม่เปิด
:check: พบ Size<date
:check: ก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
สาเหตุ
จากทารก
congenital anomalies
จากมารดา
สุขภาพ ความผิดปกติของฮอร์โมนที่มีผลต่อการฝังตัว และ อุบัติเหตุ
การวินิจฉัย
การตรวจอัลตราซาวด์
สามารถแยกภาวะการตั้งครรภ์นอกมดลูก และครรภ์ไข่ปลาอุก ออกจากครรภ์ปกติได้ และตรวจดูว่า ตัวอ่อนในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ โดยดูจากการเต้นจของหัวใจ การเคลื่อนไหวของตัวเด็ก ตรวจดูสุขภาพถุงหุ้มตัวอ่อนมดลูกว่าอยู่ในสภาพสมบูรณ์ดีหรือไม่ ถุงไข่แดง และจำนวนตัวอ่อนที่ตั้งครรภ์
การตรวจหาระดับฮอร์โมนในเลือด
เช่น hCG ก็จะสามารถบอกได้ว่า ตัวอ่อนยังมีชีวิตอยู่หรือมีการเจริญเติบโตอยู่หรือไม่ ถ้าตัวอ่อนเสียชีวิตปริมาณฮอร์โมนจะต่ำลง หรืออาจใช้ติดตามการเพิ่มขึ้น ของระดับฮอร์โมน hCG ที่ช่วยแยกภาวะครรภ์ นอกมดลูกกับครรภ์ปกติ
การรักษา
กลุ่มตั้งครรภ์มีชีวิต
ให้นอนพักผ่อนให้มากที่สุด ห้ามเดินมากๆ
งดเว้นปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกาะของทารก เช่น งดการมีเพศสัมพันธ์ การยกของหนัก หรือกิจกรรมใดๆก็ตามที่เป็นการเกร็งหน้าท้อง หรือเพื่อความดันในช่องท้อง
ติดตามการรักษาอย่างใกล้ชิด
ให้ Hormone progesterone
กลุ่มที่ตั้งครรภ์ไม่มีชี่วิต (Non-viable pregnancy)
การสิ้นสุดการตั้งครรภ์อจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
Complete abortion
Incomplete abortion
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
6/03/63
Albumin +1 (Negative)
Leucocyte 3+ (Negative)
WBC >100 /HPF (0-5)
ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ (Urinary tract infection; UTI)
มีอาการปัสสาวะแสบขัด
22+1 สัปดาห์ได้รับยา cef-3 2 g ODx3day
29+3 สัปดาห์ ได้รับยา Aomxycilin 2x2 per oral pc # 28
ผลต่อมารดา
Pyelonephritis กรวยไตอักเสบ
Anemia
Septicemia
Respiratory distress syndrome
ARDS
Acute renal failure
Chorioamnionitis
Preeclampsia
ต่อทารก
Preterm delivery
Low birth weight
Stillbirth/ neonatal death
ตรวจ TFT (7/03/63)
FT3 2.73 pg/mL (1.88-3.88) :check:
FT4 0.86 ng/dL (0.7-1.4) :check:
TSH 3.95 uIU/ml (0.35-4.94) :check:
ซึ่งมารดามี HR อยู่ที่ 100-123 bpm
มีAlb T-+1จึง
รวมถึงภาวะ Hyperprolactinemia
สงสัยและเฝ้าระวังภาวะHyperthyroid
แท้งง่าย ตายคลอด พรีเทอม
การสังเกต
กระหายน้ำ อ่อนเพลีย เหงื่อออกมาก
คลำบริเวณคอพบต่อมทัยรอยโต
มีอาการใจสั่น รู้สึกร้อนวูบวาบ อาจมีอุณหภูมิกายสูง>38
กินมากขึ้นแต่น้ำหนักอาจน้อยลง
แนะนำการนับลูกดิ้น
7/03/63
GA 25+3 day
ตรวจ Prolactin level ได้ 251.5 ng/ml
(not pregnant 4.79-23.3)
มีอาการร่วมคือ มีน้ำนมไหลเป็นน้ำสีขาวขุ่น/เหลืองใสไหล
ตรวจไม่พบก้อนที่เต้่านม
มีเป็นภาวะ Hyperprolactinemia
ค่าปกติ = 4.79.23.3 ng/dL
mild < 50 ng/dL
moderate < 100 ng/dL
severe > 100 ng/dL
Low estrogen level
hot flash
vaginaldryness
NOTIFY
Teenage pregnancy
Preterm
ภาวะโลหิตจาง (anemia)
ทารกน้ำหนักน้อย
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (pregnancy induced hypertension)
การติดเชื้อเอชไอวี และโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์อื่น ๆ
มารดาทุพพลภาพและเสียชีวิต
อัตราตายปริกำเนิด
ตรวจร่างกายและตรวจครรภ์
ไม่พบภาวะซีด ไม่พบต่อมไธรอยด์ หรือต่อมน้ำเหลืองโตไม่มีบวม
ความดันโลหิตปกติ
ตรวจปัสสาวะ Alb=neg / Sugar=neg
ขนาดหน้าท้องตามยาววัดได้ 30 เซนติเมตร
สัมพันธ์กับอายุครรภ์
ยอดมดลูก 3/4 > สะดือ สัมพันธ์กับอายุครรภ์
ส่วนนำ = vertex
อยู่ใน longitudinal line
Position = OA
Attitude = -
การลง = HF
FHS 140 ครั้ง/นาที
PRETERM
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
:<3: การรักษาและป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ดูแลสุขอนามัยให้สะอาดอยู่เสมอ เช็ดจากหน้าไปหลัง ล้างมือก่อนและหลังเข้าห้องน้ำ
การแต่งกาย หลีกเลี่ยงการสวมกางเกงรัดรูปหรือถุงน่องนาน ให้สวมเสื้อผ้าที่ระบายอากาศได้ดี เช่น กางเกงชั้นในผ้าฝ้าย
การดื่มน้ำให้ดื่มน้ำเพิ่มจากเดิม 1 แก้วทุกมื้ออาหาร วิธีสังเกตุว่าพอหรือไม่ให้สังเกตุที่สีของปัสสาวะให้เหลืองใสหรือขาว
ขับถ่ายปัสสาวะให้ปกติไม่กลั้น ควรทุก 2-4 ชั่วโมง
การรับประทานอาหารให้ครบถ้วนและนอนพักอย่างเพียงพอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง
การใช้ยาปฏิชีวนะ ที่ได้รับจากแพทย์ ควรรับประทานให้ตรงครบหมดตามจำนวน เพราะถ้ารับประทานไม่ครบอาจเกิดการดื้อยาและกลับเป็นซ้ำซึ่งอาจรุนแรงกว่าครั้งแรก
ดูแลติดตามอาการตามแพทย์นัดเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำและผล
กระทบที่อาจเกิด
BMI ต่ำกว่าเกณฑ์
ทารกมีน้ำหนัก <2500 กรัม
:<3: คำแนะนำ
1.ซักประวัติการทานอาหารและปัญหาที่มี
2.อัตราส่วนการทานอาหาร
-ข้าว-แป้ง 9 ทัพพี
-ผัก 6 ทัพพี
-ผลไม้ 6 ส่วน
-เนื้อสัตว์ 12 ช้อนกินข้าว
-นม 2-3 แก้ว
-น้ำตาล ไม่เกิน5 ช้อนชา
-เกลือ ไม่เกิน 1 ช้อนชา
3.แนะนำสัดส่วนอาหารทดแทนตามสมุดบันทึกสุขภาพ
Teenage pregnancy
มารดามีอาการเจ็บครรภ์ถี่สม่ำเสมอทุก 5-10 นาที ดูแลให้ได้รับการตรวจ NST
ไม่มีภาวะStress
ส่งตรวจ PV
มีภาวะ Stress
การตรวจ modified BPP
ได้ผลปกติเมื่อ
nonstress test ได้ผล reactive และช่องน้ำคร่ำที่วัดได้ลึกที่สุด ≥ 2 ซม.
มีภาวะเครียด
ปัญหาที่พบบ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนด
ปัญหาเกี่ยวกับหัวใจและหลอดเลือด
ปัญหาระบบทางเดินหายใจ RDS
การควบคุมอุณหภูมิ Hypothermia , Hyperthermia
ปัญหาการติดเชื้อ maternal UP , Neonatal sepsis , Menigitis
ภาวะลำไส้เน่า
เคยมีภาวะ threatened abortion
1.ให้นอนพักผ่อนให้มากที่สุด ห้ามเดินมากๆ
2.งดเว้นปัจจัยเสี่ยงเช่น งดการมีเพศสัมพันธ์ การยกของหนัก หรือกิจกรรมใดๆก็ตามที่เป็นการเกร็งหน้าท้อง หรือเพื่อความดันในช่องท้อง
มีภาวะHyperprolactinemia
อาการไม่สุขสบายในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์
อาการปวดตามร่างกาย
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่อยู่ในท่าเดิมนานๆ เช่นการยืนนาน
ไม่ควรซื้อยามารับประทานเองเด็ดขาด เพราะอาจมีผลต่อทารกในครรภ์ได้
นอนตะแคง งอเข่าและวางขาลงบนหมอนข้าง ท่านอนช่วยลดอาการปวดหลัง
สามารถใช้ครีมนวดบรรเทาปวดได้
อาการ leg clamp/ตะคริว
ยืดกล้ามเนื้อก่อนนอนเบาๆโดยการยืดขา เป็น เวลา 30 วินาที เบาๆ ประมาณ ข้างละ 5 ครั้ง
เปลี่ยนท่าบ่อยๆขณะนั่งหรือทำกิจกรรมที่ต้องอยู่ในท่าเดิม
ดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอวันละ 8 แก้ว (หากเป็นน้ำอุ่นได้จะดีมาก)
รับประทานอาหารเเคลเซี่ยมสูง เช่น ปลาตัวเล็ก, ผักใบเขียว, นม เป็นต้น
นอนแตะเเคงซ้ายเพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือดไปเสี้ยงอวัยวะต่างๆในร่างกายได้ดีขึ้น
หลีกเลี่ยงการอยุ่ในสภาพอากาศที่เย็นจัดหรือการนอนตากแอร์เป็นเวลานานๆ
ปัสสาวะบ่อย
อธิบายสาเหตุที่เกิด คือจากการที่มดลูกขยายตัวกดเบียดกระเพาะปัสสาวะ
แนะนำให้มารดาไปปัสสาวะทันทีเมื่อปวดไม่กลั้น
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์จากหน้าไปหลัง ซับให้แห้งเสมอ
ดื่มน้ำก่อนนอนให้น้อยลงถ้ามีปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน
งดดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ
แนะนำการกระตุ้นพัฒนาการของทารก
1.การฟังเพลงด้วยเพลงคลาสสิคหรือเพลงเบาๆ
2.การนั่งเก้าอี้โยก การเคลื่อนไหว จะช่วยพัฒนาสมองและกระตุ้นประสาทสัมผัส
3.การลูบหน้าท้องด้วยผ้าชุบน้ำอุ่นและน้ำเย็นเพื่อกระตุ้นประมาทสัมผัส
4.การกระตุ้นด้วยเสียงอื่นๆเช่นเสียงของพ่อที่ทุ้มต่ำ เสียงแปลกใหม่ จะกระตุ้นพัฒนาการได้ดีขึ้น
5.ปิดไฟในห้องให้มืด เอาไฟฉายส่องชิดหน้าท้อง จากบริเวณและค่อยๆเลื่อนออกจากแนวกลางท้องกระตุ้นการมอง
ซึ่งสามารถทำพร้อมๆกันได้ต่อเนื่องอย่างน้อย 15 นาที
ถ้าไม่มีการเปิดของปากมดลูก
แนะนำการสังเกตอาการของการคลอดก่อนกำหนด
1.มาพบแพทย์ทันทีเมื่อเริ่มมีอาการเจ็บครรภ์ทุก 10-15 นาที อาจมีปวดหลังและปวดหน้าขาร่วมด้วย
2.เมื่อมีอาการน้ำเดิน หรือมีเลือด มูกเลือดออกทางช่องคลอด
3.ลูกดิ้นน้อยลง
กรณีให้ยับยั้งการคลอด
1.มี contrac 1 ครั้งใน 10 นาที Duration < 30 วินาที
2.effacement < 50% ปากมดลูเปิด < 4 cm
3.GA 20-34 wks
4.ไม่มีภาวะแทรกซ้อน + ไม่มี fetal distess
HYPOTHALAMUS
estrogen
progesterone
สูงในมารดาตั้งครรภ์
:no_entry: Prolactin intibiting factor
Anterior Pituitary Gland
:star: Prolactin releasing factor
Prolactin
TRH
TRH จะสูงในรายที่มีภาวะ hypothyroid
HYPOTHALAMUS
TRH
Anterior Pituitary Gland
TSH
Thyroid gland
T3 T4
Dopamine
Gonadotropine
มารดาจึงต้องมีการตรวจ TFT
เพื่อดูว่าใช่สาเหตุของ
Hyperpolactinemia
หรือไม่