Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 การป้องการและการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่1
การป้องการและการควบคุมการติดเชื้อ
1.1 วงจรการติดเชื้อ
เป็นปฏิกิริยาของร่างกาย (Host interaction) ที่เกิดขึ้นเมื่อมีเชื้อโรค (Microorganisms) เข้าสู่ร่างกาย เชื้อจะแบ่งตัวในร่างกายอย่างมากจนทําให้หน้าที่ของร่างกายผิดปกติ และร่างกายมีปฏิกิริยาต่อเชื้อโรคโดยการสร้างภูมิคุ้มกัน (Immune response)
1.1.1 เชื้อก่อโรค (Infectious agent)
1.แบคทีเรีย
แบคทีเรียทั้งกรัมบวกและกรัมลบ
Staphylococcus epidermidis
Clostridium difficile
2.โปรโตซัว
Entamoeba histolytica ทำให้เกิดโรคบิด
3.เชื้อรา
Candida albicans
Canduda glabrata
4.ไวรัส
เชื้อหัด
อีสุกอีใส
5.พยาธิ
พยาธิเส้นด้าย(พบมากในเด็ก)
พยาธิใบไม้ตับ
1.1.2 แหล่งกักเก็บเชื้อโรค(Reservoir)
เป็นที่ให้เชื้อโรคเจริญเติบโตและมี การขยายตัว เชื้อโรคแต่ละชนิดจะเจริญเติบโตได้ดีในแหล่งเชื้อโรคเฉพาะ แหล่งเชื้อโรคอาจเป็นคน สัตว์ พืช ดิน และแมลงต่าง ๆ
1.1.3 ทางออกของเชื้อ (Portal of exit)
เชื้อจุลชีพออกจากร่างกายของคนซึ่งเป็นโรคได้หลายทาง
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
1.1.4 หนทางการแพร่กระจายเชื้อ(Mode of transmission)
เชื้อแพร่กระจายจากผู้ติดเชื้อ หรือผู้ป่วยไปสู่ผู้อื่นได้หลายทาง
การสัมผัส
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนำ
1.1.5 ทางเข้าของเชื้อ(Portal of entry)
เมื่อเชื้อโรคออกจากแหล่งเชื้อโรคแล้วจะทําให้เกิด โรคได้ โดยการหาทางเข้าไปในร่างกายมนุษย์ใหม่ (Host) โดยมากทางเข้ามักเป็นทางเดียวกับที่ออกมา
ทางเดินอาหาร
ทางเดินหายใจ
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีดขาด
1.1.6 ความไวในการรับเชื้อของบุคคล (Susceptible host)
ภายหลังที่เชื้อจุลชีพเข้าไปในร่างกายและจะทําให้บุคคลติดเชื้อง่ายหรือยากขึ้นอยู่กับลักษณะของเชื้อจุลชีพ ธรรมชาติของเนื้อเยื่อที่รับ เชื้อ สุขภาพทั่วไปของแต่ละบุคคล ภูมิคุ้มกันโรค
1.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
1.2.1 ความเครียด(Stress)
คนที่เพิ่งฟื้นจากการผ่าตัดใหม่ๆย่อมรับการติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนที่สุขภาพแข็งแรง
1.2.2 ภาวะโภชนาการ
บุคคลที่ได้รับอาหารครบถ้วนความไวต่อการติดเชื้อจะน้อยกว่าคนที่ขาด อาหาร เชื่อกันว่าโปรตีนเป็นสารอาหารที่ช่วยในการสร้างเนื้อเยื่อ
1.2.3 ความอ่อนเพลีย
พบคนที่อ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอจะติดเชื้อง่ายกว่า
1.2.4 ความร้อนหรือเย็น
คนที่ได้รับความร้อนหรือเย็นจัดจนเกินไปมีความไวต่อการติดเชื้อ มากกว่า เนื่องจากร่างกายต้องปรับตัวต่อความร้อนหรือความเย็นมาก
1.2.5โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
มีความต้านทานต่ำกว่าคนปกติ ทำให้ไม่สามารถต่อสู้กับเชื้อโรคได้
1.2.6 เพศ
มักพบโรคปอดบวมในผู้ชายมากกว่า
1.2.7 กรรมพันธุ์
บางคนขาดสาร Immunoglobulin ซึ่งเป็นตัวการสําคัญในการสร้าง
ภูมิคุ้มกันให้แก่รรางกาย
1.2.8 อายุ
ในเด็กมีความไวต่อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกายไม่ได้ดีเท่าผู้ใหญ่
1.2.9 การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
คนที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสี
คนที่ได้รับยาที่กดการสร้างภูมิคุ้มกัน
1.2.10 อาชีพ
คนเลี้ยงนกพิราบมีโอกาสติดเชื้อไวรัส H1N1
1.3 การติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้ออันเป็นผลจากการที่ผู้ป่วยไดรับเชื้อจุลชีพขณะอยู่ในโรงพยาบาล
เป็นเชื้อที่มีอยู่ในตัวผู้ป่วยเอง(Endogenous organism)
เป็นเชื้อจากภายนอกร่างกายผู้ป่วย(Exogenous organism)
1.3.1 องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
1.เชื้อโรค ส่วนใหญ่เป็นเชื้อประจำถิ่น🦠
2.คน ผู้ที่ติดเชื้อในโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วย
3.สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่ เครื่องมือ🏥
1.3.2 การแพร่กระจายเชื้อ
1.การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส
สัมผัสโดยตรง
สัมผัสโดยอ้อม
2.การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง
ไอ
จาม
ร้องเพลง
3.การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
การสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
4.การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนำ
เป็นการแพร่กระจายเชื้อซึ่งเกิดจากการที่มีเชื้อจุลชีพปนเปื้อนอยู่ในเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหาร น้ํา ยา สาร น้ําที่ให้ทางหลอดเลือดดําแก่ผู้ป่วย
5.การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ
เป็นการ แพร่กระจายเชื้อโดยแมลง หรือสัตว์นําโรค
1.4 การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ
1.4.1 การทำลายเชื้อ(Disinfection)
1.การล้าง
ผู้ล้างต้องระมัดระวังมิให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
สวมถุงมือยาง
ผ้ากันเปื้อน
แว่นป้องกันตา
2.การต้ม
ต้มเดือดนาน 20นาที
3.การใช้สารเคมี
เป็นวิธีการสุดท้ายท่ีจะใช้ถ้าไม่มีวิธีอื่น เนื่องจากฤทธิ์ของการทําลาย เชื้อของสารเคมีเปลี่ยนแปลงตามปัจจัยต่าง ๆ
4.การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
1.การล้างมือธรรมดา
ใช้สบู่หรือสบู่เหลว
น้ำยาผสมAlcohol 70%+Chlorhexidine0.5%
2.การล้างมือก่อนทำหัตถการ
การผ่าตัด การทำคลอด
Chlorhexidine4% หรือ lodophor7.5%
3.การเตรียมผิวหนัง
การฉีดยาใช้ Alcohol 70%
ผ่าตัดเล็กใช้ Alcohol70% หรือTr.iodine2%
ผ่าตัดใหญ่ใช้ Clorhexidine0.5%
4.การทำแผล
ล้างแผลให้สะอาดด้วย Steriled normal saline
5.การทำความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอดหรือก่อนการตรวจภายใน
ใช้Cetrimide15%+Chloroxylenol1.5% เจือจาง1:100
6.การสวนล้างช่องคลอด
ใช้Cetrimide15%+Chlorhexidine1.5%เจือจาง1:100
7.การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัด
ใช้lodophor10%
1.การทำลายเชื้อระดับสูง
Glutaraldehyde
Hydrogen peroxide
2.การทำลายเชื้อระดับกลาง
70-90% Ethanol
3.การทำลายเชื้อระดับต่ำ
Quaternary ammonium compounds
Lodophors
Phenolic
1.4.2 การทำให้ปราศจากเชื้อ(Sterilization)
กระบวนการในการทําลายหรือขจัด เชื้อจุลชีพทุกชนิดรวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียจากเครื่องมือทางการแพทย์ อุปกรณ์ที่ต้องผ่านเข้าสู่ส่วน ต่าง ๆ ของร่างกายที่ปราศจากเชื้อ กระแสเลือดหรือเนื้อเยื่อ
1.วิธีการทางกายภาพ(Physical method)
1.การใช้ความร้อน
การเผา
การต้ม
การใช้ความร้อนชื้น
2.วิธีการทางเคมี
1.การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas(EO)
Fornaldehyde ความเข้มข้น37%
ฟอร์มาลิน(Formalin)
2.การใช้High-level disinfectant
วิธีเก็บรักษา
เก็บไว้ในตู้มีฝาปิดมิดชิด ไม่มีแมลงหรือสัตว์เข้าไปรบกวน
เก็บไว้ในที่แห้ง ห่างจากอ่างล้างมือ
เก็บไว้ในปริมาณพอเหมาะ พอใช้
1.5 การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
1.5.1 Standard precaution
1)ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
1.ล้างมือธรรมดา7ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 เปิดนํ้าให้ราดมือท้ังสองข้าง ฟอกด้วยสบู่ให้ทั่วมือ โดยหันฝ่ามือถูฝ่ามือ
ขั้นตอนท่ี 2 ฝ่ามือถูหลังมือและกางนิ้วมือ เพื่อถูง่ามนิ้วมือ
ขั้นตอนที่ 3 ฝ่สมือถูฝ่ามือและกางนิ้วมือ เพื่อถูง่ามนิ้วมือ
ขั้นตอนท่ี 4 มือสองข้างจับล็อคกัน ให้ฝ่ามืออีกข้างถูหลังนิ้วมือและนิ้วมือถูนิ้วมือ
ขั้นตอนท่ี 5 ฟอกหัวแม่มือโดยรอบ ด้วยฝ่ามือ
ขั้นตอนที่ 6 ใช้ปลายนิ้วมือถูฝ่ามือทําสลับกันท้ัง 2 ข้าง
ขั้นตอนที่ 7 ถูรอบข้อมือทั้ง 2 ข้าง
2.การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อโรค
3.การล้างมือก่อนทำหัตถการ
4.การใช้Alcohol hand rub ทดแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน
2) สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
1.ถุงมือ
ถุงมือปราศจากเชื้อ
ถุงมือสะอาด
2.เสื้อคลุม
3.ผ้าปิดปากและจมูก
3)หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
4)ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
5)บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
6)ทำความสะอาดและทำลายเชื้อ
7)หลีกเลี้ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน
1.5.2 Transmission-base precaution
1)การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
1.แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ
2.ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรงหรือผ่านเครื่องกรองท่ีมี ประสิทธิภาพ
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
5.จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ในกรณีที่จำเป็น
2) การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ํามูกนํ้าลาย
3) การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส
การควบคุมการแพร่กระจาย
1.กำจัดเชื้อโรค
2.ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย ควรจะแยกจากแหล่งของเชื้อโรค
3.ส่ิงแวดล้อม อาคาร สถานท่ี ควรให้สะอาดและแห้ง ไม่เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคหรือที่อยู่ของสัตว์พาหะ
1.การทำลายขยะ
2.การแยกขยะในโรงพยาบาล
การทําลายเชื้อและการทําให้ปราศจากเชื้อต้องกระทําอย่างถูกต้อง
5.การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายท่ีแน่นอน การใช้ยาต้านจุลชีพมากเกินไป
หรือใช้อย่างพรํ่าเพรื่อจะทําให้มีเชื้อดื้อยามาก
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล เพื่อให้ทราบลักษณะการเกิดและการกระจายของ การติดเชื้อในโรงพยาบาล
7.ติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล บุคลากรทางการแพทย์อาจจะ ได้รับเชื้อในขณะปฏิบัติงานได้
1.6 กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
1.6.1 การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
การรักษาที่ได้รับ
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
1.6.2 การวินัจฉัยทางการพยาบาล
1.เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
2.มีโอกาสเกิดการระบาดของโรคในชุมชน
1.6.3การวางแผนและให้การพยาบาล
1.ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาลผู้ป่วย
2.ใช้หลักAirborne precautious
3.ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยและญาติ
4.รายงานอุบัติการณ์การเฝ้าระวังการเกิดโรคต่อคณะกรรมการการติดเชื้อของโรงพยาบาล
1.6.4 การประเมินผลการพยาบาล
1.ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสู่ญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย