Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ Health system and Health Economics,…
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
Health system and Health Economics
แนวคิดเรื่องสุขภาพ
สาธารณสุข (Health)
ศาสตร์และศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและจัดการสุขภาพทั้งหมดของชุมชน
WHO, 1946
สุขภาพเป็นองค์รวม ที่ไม่ใช่แค่โรคภัยหรือความเจ็บป่วยเท่านั้น
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
(Health Economics)
สาธารณสุข
(Health)
วิทยาศาตร์สุขภาพ
เศรษฐศาสตร์
(Economics)
สังคมศาสตร์
เกิดความขาดแคลน
‘Scarcity’
การแก้ปัญหาการขาดแคลน
ทางเลือกที่เกิดความเป็นธรรมในการจัดบริการสุขภาพ
ทางเลือกที่เกิดประสิทธิภาพในการจัดบริการสุขภาพ
องค์ประกอบและคำถาม
ระบบการให้บริการสาธารณสุข
(Health care system)
มีระบบการทำอย่างไร
ปัจจัยและวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิต
การดำเนินการทางด้านการรักษาพยาบาล(Health care service)
ความจำเป็น (Needs) และอุปสงค์(Demand)
ผู้ป่วยควรจ่ายเท่าไหร่
โรงพยาบาลควรจะคิดเท่าไหร่
ผลสืบเนื่องจากความเสมอภาค และประสิทธิภาพ
สุขภาพ (Health)
สุขภาพคืออะไร
สุขภาพวัดได้อย่างไร
มีการให้คุณค่าอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับสินค้าทั่วไป
•ผลิตอะไร What?
•ผลิตอย่างไร How?
•ผลิตเพื่อใคร For whom?
ต้นทุน
ประโยชน์และนโยบาย
สุขภาพ
สภาพแวดล้อม
เศรษฐกิจ/การเมือง
วัฒนธรรม/ศาสนา
นโยบายสาธารณะ
กายภาพ/ชีวภาพ
ประชากร/การศึกษา
การสื่อสาร/คมนาคม
ความมั่นคง
เทคโนโลยี/องค์ความรู้
ปัจเจกบุคคล
ระบบบริการ
สาธารณสุข
บริการส่งเสริม&ป้องกัน&
รักษา&ฟื้นฟู
การแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ
การแพทย์&สาธารณสุข
กระแสหลัก
การแพทย์แผนไทย&
พื้นบ้าน
กรรมพันธ์ุ
พฤติกรรม
ความเชื่อ
จิตวิญญาณ
วิถีชีวิต
ระบบบริการสุขภาพ
ระบบสุขภาพ
ความหมายที่ WHO, 2010
ระบบการจัดการสุขภาพทั้งมวล ที่เกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และปัจจัยต่าง ที่เกี่ยวกับสุขภาพ
ปัจจัยด้านบุคคล
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ชีวภาพ
เศรษฐกิจ
สังคม
การเมือง
การศึกษา
กฎหมาย
ศาสนา
วัฒนธรรม
ประเพณี
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปัจจัยระบบบริการสุขภาพ
ประเภท
ระบบสุขภาพแบบสังคมนิยม
ไม่มีกลไกลตลาด
รัฐบาลเป็นผู้จัดการ
ประชาชนได้รับบริการจากรัฐ
ระบบสุขภาพแบบครอบคลุมและเท่าเทียม
รัฐมีบทบาทมากในการจัดการ
ประชาชนทุกคนได้รับบริการอย่างครอบคลุม
กำหนดโดยสภาพเศรษฐกิจประเทศ
ประชาชนรับบริการโดยไม่มีค่าใช่จ่าย
ระบบสุขภาพแบบสวัสดิการ
ระบบบริการของสาธารณะสุข
รัฐเข้ามาแทรกแซงกลไกลตลาด
รัฐมีส่วนในการรับผิดชอบเรื่องสุขภาพของประชาชน
ระบบสุขภาพแบบเสรี
เอกชนมีการแข่งขันในการให้บริการ
เอกชนเป็นใหญ่
ตลาดเสรี
รัฐแทรกแซงกลไกลตลาดได้น้อย
รักษากฎหมาย
จดหาสาธารณูปโภคให้แก่ประชาชน
รักษาระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชน
ความรับผิดชอบส่วนบุคคลในการดูแลตนเอง
องค์ประกอบ
Self Care
ครอบครัว
PHC
ชุมชน
Primary Care
ตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล
(รพ.สต.) 9,781 แห่ง
ป้องกัน + โปรโมชั่น
การดูแลเรื้อรัง
การพักฟื้น
การดูแลแบบประคับประคอง
การดูแลระยะยาว
Secondary Care
อำเภอ
โรงพยาบาลชุมชน 780 แห่ง
การดูแลแบบเฉียบพลัน
การดูแลเรื้อรัง
การดูแลระดับกลาง
Excellence Center Tertiary
จังหวัด
โรงพยาบาลศูนย์ 33 แห่ง
บริการ / การดูแลล่วงหน้า
ศูนย์ฝึก
โรงพยาบาลทั่วไป 83 แห่ง
กรณีที่ซับซ้อน
การดูแลผู้ป่วยใน
การเข้าถึงบริการ
(Accessibility)
ความเพียงพอของบริการที่มีอยู่ (Availability)
การเข้าถึงแหล่งบริการ (Accessibility)
ความสะดวกและสิ่งอำนวยความสะดวกของแหล่งบริการ (Accommodation)
ความสามารถในการจ่าย (Affordability)
การยอมรับคุณภาพ (Acceptability)
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสุขภาพกับเศรษฐกิจ
ลักษณะที่ 1 ผลกระทบของเศรษฐกิจที่มีต่อสุขภาพ
ลักษณะที่ 2 ผลของสุขภาพที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศ
ประเภทการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในระบบสุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับมหาภาค (Macroeconomic study)
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพโดยรวม
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับจุลภาค (Microeconomic study)
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพระดับย่อย
พฤติกรรมของผู้รับบริการ
พฤติกรรมของผู้ให้บริการ
พฤติกรรมของในตลาดสุขภาพ
ผู้วางแผน (Planner)
ผู้กำหนดนโยบาย (Policy maker)
การประยุกต์ใช้
การกำหนดโครงการ
การจัดสรรทรัพยากร
การบริหารจัดการระบบ
(System management)
Health
economics
ผู้ให้บริการ
(แพทย์ ทัตนแพทย์ พยาบาล สาธารณสุข)
การประยุกต์ใช้
การวินิจฉัยโรค
การส่งเสริมสุขภาพ
การบำบัดรักษา
การควบคุม ป้องกัน และการฟื้นฟูสภาพ
การบริหารจัดการกับผู้รับบริการ
(Patient management)
Clinical
economics
สัมฤทธิผล
(Efficacy)
Can it work?
(ดีหรือไม่)
ความปลอดภัย
(Safety)
Side effect?
Acceptable?
ประสิทธิภาพ
(Effectiveness)
Does it work?
(ใช้ได้หรือไม่)
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเพื่อการจัดบริการสุขภาพ
Health Promotion
Treatment
Rehabilitation
Disease control and prevention
การผลิตสินค้าและบริการสาธารณสุขโดยภาครัฐ
นโยบายการคลัง มีการกำหนดนโยบายที่สนองและสอดคล้องกับปัญหาสุขภาพ และจะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายหลัก
กระจายบริการให้ทั่วถึงที่สุด ครอบคลุมถึงการจัดให้มีบริการในที่ต่างๆ อย่างทั่วถึง
ยกระดับสุขภาพอนามัยของประชาชน
แนวคิดในการจัดสรรสรรพยากรสุขภาพ
ความจำเป็น
ลักษณะเศรษฐกิจและสังคม
รายได้
การศึกษา
อาชีพ
พื้นที่อยู่อาศัย
ลักษณะทางประชากร
จำนวนประชากร
กลุ่มอายุและเพศ
ลักษณะทางด้านสุขภาพ
การเจ็บป่วย
การตาย
ความรุนแรงของโรค
อุปสงค์
การใช้บริการ
อุปทาน
บทบาทเจ้าหน้าที่กับเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเพื่อการจัดบริการสุขภาพ
มีทักษะด้านการบริหารจัดการโดยเฉพาะการบริหารต้นทุนในสถานบริการสุขภาพ
เข้าใจพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพทั้งทางด้านอุปสงค์และอุปทานสุขภาพ
กำหนดอัตราค่าบริการ
กำหนดการผลิตบริการสุขภาพ
ช่วยในการจัดการด้านก าลังคนด้านสุขภาพ (อุปทานของบริการทางการแพทย์)
ทำให้เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคทางด้านสาธารณสุข ในการตัดสินใจใน
การเลือกรับบริการรักษา บริโภคยา หรือผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ใช้ข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์เพื่อใช้ในการดูแลสขภาพ
การวิเคราะห์ความน่าจะเป็น
การวิเคราะห์การตัดสินใจ
ให้เข้าใจแผนงบประมาณและนำมากำหนดนโยบายสุขภาพ
ค่าใช้จ่าย
ประโยชน์ที่ได้รับ
รายจ่ายเพื่อสุขภาพ
การพัฒนาทางเศรษฐกิจ
สถานภาพทางด้านสุขภาพอนามัย
ความต้องการของมนุษย์ไม่จำกัด
Wants (needs) are ‘infinite’
ทรัพยากรสุขภาพมีจำกัด
Resources are scarce
นางสาวศศิธร รื่นโยธา 623601070ห้อง A เลขที่ 69