Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบ หัวใจและการไหลเวียนโลหิต,…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบ หัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
ยาคุมกำเนิด
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
อาการ
อาการขึ้นอยู่กับ vascular injury และ end organ damage
ความดันโลหิตสูงขั้นวิกฤต
hypertensive encephalopathy
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
Myocardial infarction
Unstable angina
Pulmonary edema
เลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
การซักประวัติ
โรคประจำตัว
ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว
การตรวจร่างกาย
ตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
ตรวจ retina
สงสัยภาวะ Aortic dissection
คลำชีพจรแขน+ขา วัดความดันโลหิตแขน 2 ข้าง
pseudohypotension
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ CBC
ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
Creatinine และ Glomerular filtration rate (eGFR)
ส่ง X-ray / MRI
การรักษา
ลดความดันโลหิตเฉลี่ย (MAP) ลงจากระดับเดิม 20-30%
ภายใน 2 ชั่วโมงแรก และ 160/100 มม.ปรอท ใน 2-6 ชั่วโมง
ยาลดความดันโลหิตที่พึงประสงค์ควรออกฤทธิ์เร็วและหมดฤทธิ์เร็วเมื่อหยุดยา
ไม่แนะนำยา Nifedipine
การพยาบาล
ระยะเฉียบพลัน
เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด
neurologic
cardiac
renal systems
ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยา
โรคหัวใจ+หลอดเลือด
ไม่ควรลด SBP ลงมาต่ำกว่า 120 มม.ปรอท
DBP ที่เหมาะสม คือ 70-79 มม.ปรอท
สังเกตอาการของภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย
sodium nitroprusside
ผสมยาใน D5W และ NSS
เก็บยาให้พ้นแสง+ตลอดการให้ยาแก่ผู้ป่วย
หากยาเปลี่ยนสีเข้มขึ้น
ห้ามใช้ยาเนื่องจากเกิดการสลายตัวของยาจะปล่อย cyanide ออกมา
ให้ยาทาง infusion pump เท่านั้น
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
จุดปล่อยกระแสไฟฟ้าใน atrium ส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่+ไม่สม่ำเสมอ+ไม่ประสานกัน
ไม่สามารถบอก P wave
อัตราการเต้นของ atrial > 350 ครั้ง/นาที
อัตราการเต้นของventricle 60-100 ครั้ง/นาที
controlled response
ventricle >100 ครั้ง/นาที
rapid ventricular response
ประเภท
Paroxysmal AF
Persistent AF
Permanent AF
Recurrent AF
Lone AF
สาเหตุ
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
hyperthyrodism
open heart surgery
อาการ
ใจสั่น
อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง
คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของV/S+EKGอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการของการเกิดลิ่มเลือดอุดตันสมอง+ปอด+แขน+ขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
เตรียมผู้ป่วย+อุปกรณ์ในการทำ Cardioversion
เตรียมRadiofrequency Ablation
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด
Ventricular tachycardia (VT)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ventricle มีอัตราที่เร็วมากแต่สม่ำเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที
ประเภท
Nonsustained VT
Sustained VT
Monomorphic VT
Polymorphic VT
สาเหตุ
Myocardial infarction
Rheumatic heart disease
ถูกไฟฟ้าดูด
โพแทสเซียมในเลือดต่ำ
Digitalis toxicity
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการ
อาการเกิดทันที รู้สึกใจสั่น
ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด
เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก
หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วย+รายงานแพทย์ทันที+เปิดหลอดเลือดด
คลำชีพจร+ประเมินV/S+ระดับความรู้สึกตัว
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยา+แก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
synchronized cardioversion
คลำชีพจรได้+การไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
หัวใจเต้นรัวไม่เป็นจังหวะ+ไม่สม่ำเสมอ
ไม่มี P wave
ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขหัวใจจะหยุดเต้นทันที
สาเหตุ
Hypovolemia
Hypoxia
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Pulmonary thrombosis
อาการ
หมดสติ ไม่มีชีพจร
รูม่านตาขยาย
หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดออกมาได้+เสียชีวิต
การพยาบาล
การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันที
การกดหน้าอก
Heart failure
เกิดจากความผิดปกติของโครงสร้าง/การทํางานของหัวใจ
ชนิด
แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
New onset
เกิดขึ้นครั้งแรก อาจเป็นแบบเฉียบพลัน (Acute onset)
เกิดขึ้นช้า(Slow onset)
Transient
มีอาการชั่วขณะ
Chronic
มีอาการเรื้อรัง
อาจมีอาการคงที่ (Stable)
อาการมากขึ้น (Worsening/Decompensation)
แบ่งตามการทํางานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Systolic heart failure
หัวใจล้มเหลว+การบีบตัวของหัวใจห้องซ้ายล่าง (Left ventricle) ลดลง
Diastolic heart failure
หัวใจล้มเหลว+การบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายปกติ
แบ่งตามอาการของหัวใจที่ผิดปกติ
Left sided-heart failure
Orthopnea
Paroxysmal nocturnal dyspnea (PND)
หายใจเหนื่อย
Right sided-heart failure
อาการบวม
ตับโต
Neck vein
ลักษณะของCardiac output
High-output heart failure
ร่างกายต้องการปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ (Cardiac output) มากกว่าปกติ
ไทรอยด์เป็นพิษ
ซีด
ภาวะขาดวิตามินบี1
Low-output heart failure
หัวใจบีบเลือดออกจากหัวใจได้น้อยลง (Low cardiac output)
Acute heart failure
ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยมาก่อน
ได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะหัวใจล้มเหลวมาก่อนแต่มีอาการเลวลง
Chronic heart failure
เคยได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันมาก่อนหรือไม่ก็ได้
คงอยู่เป็นเวลานาน
สาเหตุ
ความผิดปกติแต่กําเนิด
ผนังกั้นห้องหัวใจรั่ว
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ
อาการ
Dyspnea
อาการบวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย
อ่อนเพลีย
แน่นท้อง ท้องอืดจากตับโตจากเลือดคั่งในตับ
อาการที่ตรวจพบบ่อย
Tachycardia
Tachypnea
Jugular vein distention
หัวใจโต
Cardiac murmur
เสียงปอดผิดปกติ
ตับโต
บวมกดบุ๋ม
การวินิจฉัย
Chest X-ray, CXR
Electrocardiography
การตรวจเลือด
Echocardiography
แนวทางเวชปฏิบัติ
ควรได้รับการประเมินหาสาเหตุ/ปัจจัยกระตุ้น+แก้ไขสาเหตุเหล่านั้นอย่างทันท่วงที
ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดําชนิด Loop diuretic
ชั่งน้ำหนัก+วัดปริมาตร Intake-output ทุกวันอย่างน้อยวันละหนึ่งครั้ง
ควรติดตามค่าการทํางานของไต
พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ
ไม่แนะนําให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจในผู้ป่วย Acute heart failure
พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด
ให้ Tolvaptan
พิจารณาการสวนหัวใจเพื่อวัดBP
SBP> 85 มิลลิเมตรปรอท
ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา
ให้ Oxygen supplement
แนะนํา Noninvasive ventilation
บทบาทพยาบาล
อาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น
ไม่มีภาวะน้ำเกิน/ขาดน้ำ
ได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหตุ
ได้รับการค้นหาสาเหตุ/ปัจจัยที่ทําให้อาการกําเริบ
การพยาบาล
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจในการบีบเลือด
จัด Fowler’s position
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษา
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วย
ช่วยผู้ป่วยปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการได้อย่างถูกต้อง
Shock
Systolic blood pressure (SBP)
สูง
Systolic function ดี
ต่ำ
Systolic function ไม่ดี
Diastolic blood pressure (DBP)
สูง
Afterload สูง
ต่ำ
Afterload ต่ำ
Mean arterial pressure (MAP)
ค่าความดันโลหิตเฉลี่ย
MAP = 1/3 SBP + 2/3 DBP
ประเภท
Hypodynamic shock
hyperdynamic shock
Shock management
การรักษาจําเพาะ (Specific treatment)
การรักษาประคับประคอง (Supportive treatment)
Airway
ควรทําการเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
Breathing
ควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย
Circulation
พิจารณาการให้สารน้ำ
Fluid therapy
Hypovolemic shock
Right side cardiogenic shock
Obstructive shock
Distributive shock
ตําแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ำ
ควรใช้ขนาดเข็มที่ให้สารน้ํา No. 16 หรือ No. 18
Crystalloids
Normal saline
Ringer's lactate solution
Colloids
ทําให้ปริมาณน้ําในหลอดเลือด (Intravascular volume)เพิ่มเร็ว
ผลข้างเคียง
Anaphylactic / anaphylactoid reaction
Renal toxicity
Coagulopathy/platelet dysfunction
Vasoactive drug
Positive inotropic effect
Positive chronotropic effect
Vasopressor effect
การเลือกใช้ Vasoactive drugs
Hypovolemic shock
ใช้ของ Vasoactive drugs
Cardiogenic shock
ควรเลือกใช้ Dopamine
SBP>70 มม.ปรอทเลือก Norepinephrine
ไม่ควรใช้ Dobutamine เป็นตัวแรก
Obstructive shock
พิจารณาใช้ Dopamine
Septic shock
ให้ Dopamine
Endocrinologic shock
Norepinephrine
Anaphylactic shock
Epinephrine (Adrenaline)
Neurogenic shock
Dopamine
นางสาวณิชารีย์ ดวงเงิน รหัสนักศึกษา 6001211016 Sec.A เลขที่ 46