Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ
1.วงจรการติดเชื้อ
เกิดขึ้นเมื่อมีเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ทำให้หน้าที่ในร่างกายผิดปกติ
วงจรการติดเชื้อ
เชื้อก่อโรค (Infectious agent)
เป็นจุลชีพที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ
โปรโตซัว เชื้อ Entamoeba histolytica ทำให้เกิดโรคบิด
เชื้อรา ทำให้เป็นกลาก เกลื้อน
แบคทีเรียทั้งแกรมบวกแกรมลบ
ไวรัส ทำให้เป็นตับอักเสบ คางทูม ไข้หวัดใหญ่
พยาธิต่างๆเช่น พยาธิเส้นด้าย พยาธิใบไม้ในตับ
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค (Reservoir) เป็นแหล่งที่ทำให้เชื้อโรคเติบโตและขยายตัว แหล่งเชื้อโรคอาจเป็นคน สัตว์พืช
ทางออกของเชื้อ (Portal of exit )เชื้อจุลชีพออกจากร่างกาย
ระบบหายใจออกทางน้ำมูก ลมหายใจ
เชื้อออกจากระบบสืบพันธุ์ ทางเดินปัสสาวะ
เชื้อบนผิวหนังแผล
เชื้อจากมารดาสู่ทารก ผ่านสายสะดือ
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ (Mode of transmission)เชื้อจะแพร่กระจายจากผู้ที่ติดเชื้อไปสู่ผู้อื่น โดยการสัมผัส การหายใจ การแพร่โดยมีตัวนำ
ทางเข้าของเชื้อ (Portal of entry) เป็นการที่เชื้อโรคหาทางเข้าร่างกายใหม่ ส่วนมากเข้าทางเดียวกับตอนที่เชื้อโรคออกมา
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล (Susceptible host) การติดเชื้อของเราจะขึ้นอยู่กับบักษณะของเชื้อ สุขภาพ ภูมิคุ้มกันของแต่ละบุคคล
2.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความเครียด (Stress)
ถ้าเราเครียดมากการติดเชื้อจะง่ายและเร็วกว่า
ภาวะด้านโภชนาการ
คนที่ขาดอาหารจะมีพารติดเชื้อได้เร็วกว่าคนที่ได้รับสารอาหารครบถ้วน
ความอ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอ
คนที่พักผ่อนน้อยจะติดเชื้อได้ง่าย
การได้รับความเย็นหรือร้อนจัดเกินไป
การได้รับความเย็นเกินไปจะทำให้ความสามรถในการต้านเชื้อโรคน้อยลง
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
จะมีความต้านทานต่ำกว่าคนปกติ
เพศ
โรคแต่ละชนิดพบมากน้อยในแต่ละเพศไม่เท่ากัน
กรรมพันธุ์
เช่นการขาดสารที่เป็นตัวสำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันร่างกาย
อายุ
เด็กมีความไวต่อการตืด้ชื้อมากกว่าผู้ใหญ่
เพราะภูมิคุ้มกันเด็กน้อยกว่า
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
อย่างการฉายแสง รับยาที่กดการสร้างภูมิคุ้มกัน
อาชีพ
จากการสัมผัสได้ง่าย
3.การติดเชื้อในโรงพยาบาล
ติดขณะที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลผู้ป่วยไม่มีอาการนั้นมาก่อน จะมีอาการหลังออกจากโรงพยาบาล
เชื้อโรค(Agent)
ส่วนใหญ่เป็นเชื้อประจำถิ่น ที่พบบนร่างกายผู้ป่วยเอง เช่นเชื้อแบคทีเรียนแกรมลบรูปแท่ง เป็นเชื้อที่อยู่ในโรงพยาบาลเกิดจากการดื้อยา
คน ผู้ป่วย (Host)
บุคคลากรทางการแพทย์ อาจเกิดจากการที่ผู้ป่วยมีภูมิต้านทานโรคต่ำ ถาวะทุพโภชนาการ
สิ่งแวดล้อม (Environment)
เป็นอาคาร สถานที่ ญาติที่มาเยี่ยม
การแพร่กระจายเขื้อโดยการสัมผัส(โดยตรง)
แพร่จากคนสู่คน
การแพร่กระจายโดยการสัมผัสทางอ้อม
เป็นการสัมผัสสิ่งของ อุปกรณ์การแพทย์ที่มีเชื้อปนอยู่
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง (Droplet spread)
การสัมผัสจากผู้ป่วยที่มีเชื้ออยู่ จากการไอ จาม พูด
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne transmission)
การหายใจเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ เชื้ออยู่ในรูป droplet nuclei
เชื้อสุกไส เชื้อวัณโรค
การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนำ (Vehicle transmission)
เชื้อจะปนอยู่ในเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหาร น้ำ ทำให้เกิดการติดเชื้อSalmonella
การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหะ (Vector-borne transmission)
แมลงเป็นพาหะในการติดเชื้อ
4.การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ (Disinfection and Sterilization)
เป็นการกำจัดเชื้อจุลชีพที่ปนเปื้น อุปกรณ์ เครื่องมือ
Disinfectant (น้ำยาทำลายเชื้อ)ทำลายเชื้อบนเครื่องมือ
Antiseptics ทำลายเชื้อที่ผิวหนัง ส่วนต่างๆในร่างกายเรา
ระดับการทำลายเชื้อ (Disinfection)
การทำลายเชื้อระดับสูง (High-level disinfection)
ทำลายเชื้อได้ทุกชนิดทั้งสปอร์และเชื้อแบคทีเรีย เป็นการแช่อุปกรณ์ในย้ำยานานตามกำหนด น้ำยาจะทำลายเชื้อได้อย่างดีและรวดเร็ว
กรรทำลายเชื้อระดับกลาง (Intermediate-level disinfection)
เป็นการทำให้เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา อ่อนกำลังลง
แต่ระดับนี้ไม่สามารถทำลายสปอร์ของแบคทีเรียได้
การทำลายเชื้อระดับต่ำ (low-level disinfection)
ทำลายเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อราบางชนิด
เหมาะกับอุปกรณ์ประเภท Noncritical
การทำให้ปราศจากเชื้อ (Sterillization)
การใช้ความร้อนชื้น (Moist heat)
การนึ่งไอน้ำภายใต้ความดัน ระยะเวลาจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ความดัน
การใช้รังสี (lonizing radiation)
รังสีจะสัมผัสโดยตรงกับเชื้อ และอทกซึมเข้าสู่อุปกรณ์
รังสีUV ทำลายเชื้อแบคทีเรียได้หลายชนิด แต่ไม่สามารถเข้าสู่อุปกรณ์ไม่ดี
เป็นการลดจำนวนเชื้อในห้องผ่านตัด
วิธีการทางเคมี
การใช้แก๊ส
แก๊ส Ethylene oxide นิยมมาก มีประสิทธิภาพสูง
Formaldehyde
สามารถอบให้ปราศจากเชื้อภายใน 6-12 ชั่วโมง
การใช้ Chemical sterilant
การเก็บรักษาห่ออุปกรณ์ที่ผ่านกระบวนการทำให้ปราศจากเชื้อ
เก็บไว้ในตู้ปิดฝามิดชิด ไม่มีอะไรกวน
เก็บไว้ในที่แห้ง ห่างจากอ่างล้างมือ หรือบริเวณเปียก
วางอย่างเป็นระเบียบ ไม่เอายางรัดไว้ด้วยกัน
การล้าง การต้ม การใช้สารเคมี การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
5.การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
หลัก Standard precaution
เป็นการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากเลือด
การปฏิบัติ
1.ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
การล้างมือธรรมดา ฟอกด้วยสบู่อย่างน้อย10วินาที
การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อโรค
ถูมือด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ นาน30วินาที
การล้างมือก่อนทำหัตถการ เพื่อเตรียมในการทำคลอด ผ่าตัด
โดย ฟอกมือด้วยAntiseptic ที่มือจนถึงข้อศอก เป็นเวลา 2-6นาที
การใช้ Alcohol hand rubs
ทนแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน
2.สวมเครื่องป้องกัน
สวมถุงมือ ทุกครั้งในการให้การพยาบาลผู้ป่วยและในขณะปฏิบัติหน้าที่
สวมเสื้อคลุมหรือผูกผ้ากันเปื้อน ทุกครั้งเมื่อจะมีการกระเด็นของเลือดและสารคัดหลั่ง
ใส่ผ้าปิดปาก จมูก และแว่นป้องกันตาทุกครั้งที่คาดว่าจะมีการกระเด็นของเลือดหรือสารคัดหลั่ง
สวมรองเท้าบูตเพื่อป้องกันบริเวณเท้า
3.หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมด้วยความระมัดระวัง ทิ้งอุปกรณ์มีคมในภาชนะมี่เหมาะสม ไม่สวมปลอกเข็มกลับคืน
4.ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อม ที่ปนเปื้อนอย่างถูกวิธี
5.หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน
หลัก Tranmission-Base precautions
เป็นการป้องกันเชื้อตามทางมี่เชื้อออกจากตัวผู้ป่วยและทางที่จะเข้าสู่บุคคล
ต้องทราบทางออกและทางเข้าของเชื้อแต่ละอย่าง
ใช้ standard precautions ร่วมเสมอ
กำจัดเชื้อโรคแหล่งของเชื้อโรค แยกผู้ป่วยติดเชื้อออกจากผู้ป่วยทั่วไป กำจัดสัตว์ที่เป็นพาหะ
การแยกขยะในโรงพยาบาล เป็นขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ ขยะเป็นพิษ ขยะนำกลับไปใช้ใหม่
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้อง ป้องกันหรือชะลอการเกิดการดื้อยา
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล คือ ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อในโรงพยาบาลของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
6.กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
พยาบาลควรตระหนักและให้ความสำคัญอยู่เสมอ โดยยึดหลัก Aseptic technique เทคนิคปลอดเชื้อ
กระบวนการพยาบาล
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย (Assessment) โดยการซักประวัติตรวจร่างกายผู้ป่วย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis
รวบรวมข้อมูลมาประเมินได้มากำหนดวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผน (Planning)
ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ เกณฑ์การประเมิน การพยาบาลตามปัญหาของผู้ป่วย
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ไม่เกิดการแพร่กระจายเชื่อสู่ผู้ป่วย บุคลากร ญาติผู้ป่วย
ลดการติดเชื้อลดลง