Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวชและนิติจิตเวช, 612001002 นายฐากูร พิมมงละ…
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวชและนิติจิตเวช
ความหมาย
จิตเวช
ความเจ็บป่วยทางจิต ความผิดปกติของอารมณ์และบุคลิกภาพ
นิติเวช
การนำหลักทางการแพทย์ประยุกต์ใช้ เพื่อคลี่คลายข้อพิพาทและพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ
นิติจิตเวช
การนำหลักจิตเวชประยุกต์เพื่อประโยชน์ในกระบวนการยุติธรรมและความสงบของสังคม
การวินิจฉัยทางนิติจิตเวช
1.พิจารณาวัตถุประสงค์ว่าส่วนตัวผู้ป่วยมาเพื่อต้องการทราบอะไร
2.การตรวจทางจิตเวชต้องทำอย่างละเอียดรอบคอบ โดยได้ข้อมูลจากทีมนิติจิตเวช
3.การรวบรวมข้อมูลแบ่งเป็น 2 ส่วน
เกี่ยวกับคดี
ความเจ็บป่วยทางจิต
ขั้นตอนในการตรวจวินิจฉัย
1.พิจารณาวัตถุประสงค์
พิจารณาใบส่งตัว เพื่อจะทราบว่า(ตำรวจ ศาล เรือนจำ คุมประพฤติ) ขณะนี้คดีอยู่ชั้นไหน ส่งมาจากแหล่งใด ผู้ป่วยต้องคดีอะไร ต้องการทราบอะไรบ้าง เมื่อใด
2.การตรวจทางจิตเวช ต้องรีบทำอย่างละเอียด
ตรวจร่างกาย ตรวจทางระบบประสาท ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ทดสอบทางจิตวิทยา การเฝ้าดูพฤติกรรม โดยทีมจิตเวช ได้แก่ จิตแพทย์ พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นักอาชีวบำบัด และบุคคลที่เกี่ยวข้อง
3.การรวบรวมข้อมูล แบ่งเป็น 2 ส่วน
เกี่ยวข้องกับการก่อคดี
ความเจ็บป่วยทางจิตเวช
4.วิเคราะห์ วินิจฉัย โดยรวมข้อมูลทั้งหมด
โดยทีมงานจิตเวชในการประชุมร่วมกันของทุกฝ่ายในที่ประชุมนิติจิตเวช เพื่อความรอบด้านและยุติธรรม
5.สรุปผลการวินิจฉัย แบ่งเป็น
การวินิจฉัยทางคลินิก (clinical diagnosis) เพื่อการรักษาการพยากรณ์โรค
การวินิจฉัยทางกฎหมาย (legal diagnosis) ส่งที่ต้องพิจารณา
ขณะตรวจ วิกลจริต และความสามารถในสู้คดี
ขณะประกอบคดี สามารถรู้ผิดชอบ บังคับตนได้
ความเห็นหรือข้อเสนอแนะ เช่น ภาวะอันตราย
6.การเตรียมตัวให้ปากคำต่อศาล
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ความผิดทางอาญาของบุคคลวิกลจริต
การพิจารณาความผิดทางอาญา
1.ไม่สามารถรู้ผิดชอบในการกระทำของตน
2.ไม่สามารถบังคับตนเองได้จากบกพร่อง,จิตฟั่นเฟือน
ความสามารถในการต่อสู้คดี
หลักการพิจารณา
รู้ว่าตนเองต้องคดีอะไร
รู้ถึงความหนักเบาของโทษที่จะได้รับ
สามารถเล่ารายละเอียดของคดีได้
สามารถเข้าใจขั้นตอนการดำเนินคดี
สามารถให้ปากคำต่อกระบวนการยุติธรรมได้
สามารถร่วมมือกับทนายในการปกป้องสิทธิตนเองได้
วิธีการเพื่อความปลอดภัย
ถ้าศาลเห็นว่า ผู้ป่วยที่ถูกปล่อยตัว จะเป็นอันตรายต่อ ปชช.ศาลจะสั่งให้ส่งตัวไปควบคุมไว้ในสถานพยาบาล/คำสั่งนี้ศาลจะเพิกถอนเสียเมื่อใดก็ได้
วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ และการรอการลงโทษ
ศาลพิพากษาผู้กระทำความผิด แต่รอกำหนดโทษ/ลงโทษไว้แล้วปล่อยตัวเพื่อให่โอกาส(ไม่เกิน5ปี)
เงื่อนไขคุมความประพฤติ
1.รายงานตัวต่อเจ้า พนง.ที่ศาลกำหนด เป็นครั้งคราว เพื่อสอบสวน
2.แนะนา,ช่วยเหลือ,ตักเตือนตามสมควรในเรื่องความประพฤติและการประกอบอาชีพ
3.ให้ฝึกหัดหรือทางานอาชีพอันเป็นกิจลักษณะ
4.ละเว้นการคบหาสมาคม หรือการประพฤติใดอันอาจนาไปสู่การกระทำความผิดเช่นเดียวกันนั้นอีก
ความรับผิดชอบในทางอาญา
ความมึนเมาที่เกิดจากการเสพ จะไม่ถูกยกเป็นข้อแก้ตัว มาตรา 65 ยกเว้นเสพโดยไม่รู้ว่าทำให้มึนเมา/ถูกขืนใจ/ไม่สามารถบังคับตนเองได้ จะถูกเว้นโทษ เว้นผู้กระทำยังพอรู้ผิดชอบ จะโดนโทษแต่น้อยกว่า
วิธีพิจารณาความอาญา
เมื่อจำเลยวิกลจริต
เมื่อเกรงว่าจำเลยจะถึงอันตรายแก่ชีวิตถ้าต้องจำคุก
ถ้าจำเลยมีครรภ์แต่เจ็ดเดือนขึ้นไป
ถ้าจำเลยคลอดบุตร ศาสลจะสั่งเจ้า พนง.จัดบุคคลดังกล่าวอญุ่ในสถานะสมควร
ความหมายเกี่ยวกับผู้ดูแล
ผู้ใดควบคุมดูแลบุคคลวิกลจริต ปล่อยปละละเลยให้บุคคลวิกลจริตนั้น อาจเที่ยวตามลาพังต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 29 บุคคลวิกลจริตผู้ใด ครอบครัว/อัยการ ร้องขอต่อศาลแล้วศาลจะสั่งให้บุคคลผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถก็ได้ คำสั่งอันนี้ให้โฆษณาในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา 30 บุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถนั้น ท่านว่าต้องจัดให้อยู่ในความอนุบาล
มาตรา 32 การใดที่บุคคลวิกลจริตได้ทำลง หากศาลยังมิได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ/เป็นโมฆียะ เมื่อพิสูจน์ว่าบุคคลทำลงขณะวิกลจริต และคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้รู้แล้วด้วยว่าผู้ทำเป็นคนวิกลจริต
กระบวนการเกี่ยวกับนิติจิตเวช
บุคคลสงสัยวิกลจริต
ถูกจับดำเนินคดี
แบ่งเป็น
1.
ปล่อยตัวถ้าพิสูจน์ว่าไม่กระทำผิด
2.
1.มีหลักฐานว่ากระดำความผิด
2.งดสอบสวนหรือพิจารณาคดี
3.ตรวจวินิจตาม มาตรา 14
รักษาตามขั้นตอน
1.
อาการทางจิตทุเลา
2.
อาการทางจิตไม่ทุเลา
แจ้งผลการรักษาเป็นระยะ
อาการทางจิตทุเลา
ส่งกลับผู้นำส่งกระบวนการยุติธรรม
ลดโทษ/ปล่อยตัว (ตามมาตรา 65)/ ส่งกลับมารักษาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 48
บทบาทพยาบาลนิติจิตเวช
ใช้การสังเกต และการบันทึกอาการของผู้ป่วยอย่างละเอียด และเป็นระยะๆ
เก็บข้อมูลของผู้ป่วยเป็นความลับ เว้นแต่เป็นเรื่องทางกฎหมาย
กรณีที่บริษัทประกันร้องขอข้อมูลของผู้ป่วย พยาบาลต้องแจ้งให้แพทย์เจ้าของไข้ทราบ
พยาบาลควรแจ้งให้แพทย์ทราบเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วยที่อาจก่อนให้เกิดอันตราย ในอนาคต
พยาบาลกับการชันสูตรพลิกศพ
ไม่สามารถไปชันสูตรพลิกศพได้ แพทย์มอบหมายผ่านการอบรมทางนิติเวชศาสตร์ไปร่วมชันสูตรพลิกศพที่เกิดเหตุเบื้องต้น และรีบแจ้งแพทย์ให้ทราบ เพื่อดำเนินการตามมาตรา 150 วรรคหนึ่ง
การตายโดยผิดธรรมชาติ
การฆ่าตัวตาย
ถูกผู้อื่นทำให้ตาย
ถูกสัตว์ทำร้ายตาย
ตายโดยอุบัติเหตุ
ตายโดยยังมิปรากฏเหตุ
การเขียนรายงานการชันสูตรพลิกศพ
1.เขียนรายงาน ณ ที่เกิดเหตุ เกี่ยวกับข้อเท็จจริงทั่วไป
2.รายงานตรวจสอบสภาพภายนอก / ภายในของศพนั้นๆ
3.การตรวจชิ้นเนื้อ เพื่อดูพยาธิสภาพ
4.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อดูสารในร่างกาย
5.การลงความเห็นในเรื่องเหตุ และพฤติการณ์ที่ตาย
หลักการเก็บรักษาวัตถุพยาน
1.รวบรวมวัตถุพยานหรือสิ่งที่สงสัย
2.แยกหีบห่อ การบรรจุซอง เขียนรายละเอียด
3.ป้องกันการปลอมแปลงเจือปน หรือเสื่อมสภาพ
4.ส่งมอบวัตถุพยานด้วยความระมัดระวัง
การบันทึกอาการและอาการแสดง
1.บันทึกถูกต้อ ตามความจริง กระชับ ชัดเจน (ใช้การขีดฆ่าคำผิด)
2.ต้องมีการสังเกตและบันทึกอาการ อาการแสดงเป็นระยะๆ
3.การบันทึกต้องระมัดระวังการใช้ภาษา อย่าใช้อารมณ์ในการเขียน
4.ควรเขียนให้สื่อความหมายในแง่การรักษาและกรณีที่เป็นพยานเอกสาร
การบันทึกอาการผู้ป่วย เป็นเอกสารลับ ผู้ป่วยขอดูได้ ไม่ควรเปิดเผยให้ผู้อื่น เว้นแพทย์ หรือตามข้อกำหนดของสาร
612001002 นายฐากูร พิมมงละ 36/1