Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
1.เชื้อที่เป็นสาเหตุ
แบคทีเรีย
salmonellaโรคกระเพาะอาหารลำไส้อักเสบเฉียบพลัน
โปรโตซัว
Entamoeba histolytica โรคบิด
เชื้อรา
กลาก เกลื้อน
ไวรัส ตับอักเสบบี
พยาธิไส้เดือนตัวกลม
รังโรค
แหล่งที่เชื้อโรคเจริญเติบโตและมีการขยายตัว
คนหรือสัตว์ที่มีเชื้อก่อโรคอยู่ในตัวและไม่ทำให้เกิดโรคในตัวแต่สามารถแพร่กระจายเชื้อสู่คนอื่นได้เรียกว่า Carrier
3.ทางออกของเชื้อจากรังโรค
รบบทางเดินปัสสาวะ
เชื้อที่อยู่บนแผลผิวหนัง
ระบบสืบพันธ์
สายสะดือ
ระบบทางเดินหายใจ
แมลงกัดดูดเลือดไปกัดผู้อื่นต่อ
4.วิธีการแพร่กระจายเชื้อ
การสัมผัส
การหายใจ
การแพร่กระจายเชื้อโดยมีตัวนำ
5.ทางเข้าของเชื้อที่เข้าสู่ร่างกาย
โดยมากทางเข้ามักเป็นทางเดียวกับทางออก
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธ์
ผิวหนังที่ฉีกขาด
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้
ความเครียด
2.ภาวะโภชนาการ คนที่ขาดสารอาหาร
3.ความอ่อนเพลียพักผ่อนไม่เพียงพอ
4.การได้รับความร้อนหรือเย็นจัดเกินไป
5.โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
6.เพศ โรคบางชนิดพบมากในแต่ละเพศไม่เท่ากัน
7.กรรมพันธ์ เช่นขาดสารอาหาร
8.อายุ
9.การรักษาทางการแพทย์บางชนิด การฉายแสง รับยาที่กดการสร้างภูมิคุ้มกัน
10.อาชีพ คนเลี้ยงนกพิราบ H5N1
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
คน
สิ่งแวดล้อม
เชื้อโรค
เชื้อโรค
เชื้อประจำถิ่นเชื้อที่พบบนร่างกายผู้ป่วยเอง
คน
ความแข็งแรงภูมิต้านทานโรค
ภาวะทุพโภชนาการ
ผ่าตัด
ภูมิต้านทานต่ำ
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต
สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต
การแพร่กระจายเชื้อ
1.การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสทางตรงจากคนสู่คน เช่น มือมีบาดแผล
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสทางอ้อมเช่น สัมผัสกับสิ่งของหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีเชื้อปนเปื้อนอยู่
2.การแพร่กรจายเชื้อโดยฝอยละออง
การสัมผัสกับฝอยละอองน้ำมูกน้ำลายของผู้ติดเชื้อ เช่น ไอจาม
3.การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
การสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจเช่น เชื้ออีสุกอีใส งูสวัด วัณโรค
4.การแพร่กระจายเชื้อโดยการสื่อนำ
เชื้อจุลชีพปนเปื้อนอยู่ในเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหารและน้ำ
5.การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหะ
แพร่กระจายเชื้อโดยแมลงหรือสัตว์นำโรค
คนได้รับเชื้อจากการถูกแมลงหรือสัตว์กัด
การทำลายเชื้อและการปราศจากเชื้อ
1.การทำลายเชื้อ
น้ำยาทำลายเชื้อ สารเคมีที่ใช้ทำลายเชื้อบนเครื่องมือหรือบนพื้นผิว
Antiseptics สารเคมีใช้ทำลายเชื้อที่ผิวหนังส่วนต่างๆของร่างกาย
2.การทำความสะอาด
โดยการใช้น้ำและสารขัดล้าง
บริเวณที่จัดไว้สำหรับล้างอุปกรณ์โดยเฉพาะ
ผู้ปฎิบัติจะต้องสวมเครื่องป้องกัน
3.ระดับการทำลาย
การทำลายเชื้อระดับกลาง
สามารถทำให้เชื้ออ่อนกำลังไม่ก่ออันตรายต่อมนุษย์แต่ไม่สามารถทำลายสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียได้
การทำลายเชื้อระดับต่ำ
สามรถทำลายเชื้อไวรัส บางชนิดได้
การทำลายเชื้อระดับสูง
ทำลายจุลชีพก่อโรคได้ทุกชนิดรวมทั้งสปอร์ของแบคทีเรีย
การทำให้ปราศจากเชื้อ
1.วิธีทางกายภาพ
การใช้ความร้อน
การใช้ความร้อนชื้น
การใช้ความร้อนแห้ง
ปฎิบัติง่าย มีประสิทธิภาพสูงสุด การเผา
2.วิธีทางเคมี
การใช้แก๊ส
การใช้chemical sterilant
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
Standard precautions
1.ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ฆ่าเชื้อทุกครั้ง
2.สวมเครื่องป้องกัน
สวนเสื้อคลุมผูกผ้ากันเปื้อน
ใส่ผ้าปิดปากปิดจมูกแว่นตาป้องกัน
สวมถุงมือ
ถุงมือสะอาด
ใช้ในการเจาะเลือด
ถุงมือปราศจากเชื้อ
ใช้ในการสวนปัสสาวะให้คนไข้
3.การหยิบอุปกรณ์
one hand tachnique
ภาชนะที่มีปากแคบไม่แตกหรือรั่วได้ง่าย
เมื่อเต็มแล้วปิดฝาส่งทำลายเชื้อ
4.ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อม
ที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
5.บรรจุผ้าเื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
6.ทำความสะอาดและทำลายเชื้อหรือทำให้ปราศจากเชื้อ
7.หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฎิบัติงานโดยเฉพาะถูกเข็มที่ใช้กับผู้ป่วยตำ
Transmission-based precautions
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย
สวมผ้าปิดปากปิดจมูก
การเคลื่อนย้าย
เคลื่อนย้ายเมื่อจำเป็น
ห้องผู้ป่วย
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางฝอยละออง
ห้องผู้ป่วย
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก
อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย
สวมผ้าปิดปากปิดจมูก
การเคลื่อนย้าย
เคลื่อนย้ายเมื่อจำเป็น
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส
อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย
สวมผ้าปิดปากปิดจมูก
การเคลื่อนย้าย
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเมื่อจำเป็น
ห้องผู้ป่วย
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก
กำจัดเชื้อโรค แหล่งของเชื้อโรค
แยกผู้ป่วยติดเชื้ออกจากผู้ป่วยทั่วไป
กำจัดสัตว์ที่เป็นแหล่งและพาหะ
ทำความสะอาดและทำลายเชื้อโรค
แยกผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย
ออกจากแหล่งของเชื้อโรคและส่งเสริมภูมิคุ้มกันโรค
สิ่งแวดล้อมอาคารสถานที่
ไม่เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้อง
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดตามสังเกตการ์ณ
การติดเชื้อของบุคลากร
มือมีแผลหรือผิวหนังแตกเป็นรอย
เลือดหรือสารคัดหลั่งกระเด็นเข้าตา ปาก จมูก
ถูกเข็มตำหรือของมีคมบาด
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
1.การประเมิน
การประเมินเสี่ยงต่อก่รติดเชื้อ
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ติดตามผลทางห้องปฎิบัติการ
ภูมิคุ้มกันต่ำ
ได้รับเคมีบำบัด
ภาวะโรค
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อต่อผู้อื่น
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
3.การวางแผน
ไม่เกิดการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้ป่วยอื่น
การติดเชื้อลดลง
4.ให้การพยาบาล
5.ประเมินผลการพยาบาล
ไม่เกิดการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้ป่วยอื่น บุคลากร ญาติผู้ป่วย
การติดเชื้อลดลง