Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ(ต่อ), Manual remove of placenta -…
การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ(ต่อ)
indication
retained placenta
Bleeding
Placenta accreta
cervical clamps
Aseptic technique
Long sterile gloves
infusion and blood transfusion
การช่วยเหลือดูแล
ตรวจสอบให้แน่ใจว่ากระเพาะปัสสาวะว่างเปล่า (อาจต้องสวนปัสสาวะ)
ภายหลังจากที่ได้มีการทำ Active management ในระยะที่ 3 ของการคลอดแล้ว (ฉีด Oxytocin 10 ยูนิตเข้ากล้ามเนื้อ หลังเด็กคลอดภายใน 1 นาทีและทำ control cord traction
รายงานแพทย์เพื่อคะเนได้ว่ารกไม่คลอดภายใน 30 นาที ในระยะที่ 3 เพื่อให้การช่วยเหลือโดยการล้วงรก
ภายหลังล้วงรกประเมินการหดรัดตัวของมดลูก/จำนวนเลือดออกและสัญญาณชีพเพื่อประเมินภาวะตกเลือดหลังคลอดในระยะแรก (Early PPH)
ติดตามประเมินการติดเชื้อและภาวะตกเลือดในระยะหลังคลอด (Late PPH) ดูภาวะของ Involution of uterus โดยประเมินลักษณะน้ำคาวปลา สัญญาณชีพ และระดับยอดมดลูก
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อการติดเชื้อหลังคลอด เนื่องจากรกค้าง
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะรกค้าง เนื่องจากมีประวัติรกค้าง หรือมีประวัติขูดมดลูก
การช่วยคลอดท่าก้น(BREECH ASSISTING)
ทารกในครรภ์มารดาที่มีส่วนนำเป็นก้น หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของขาหรือร่วมกันอยู่ทางส่วนล่างของมดลูก และศีรษะอยู่ทางส่วนของยอดมดลูก
ชนิดของท่าก้น
1.ท่าก้นที่เอาก้นเป็นส่วนนำ (Frank breech หรือ extenedbreech )
2.ท่าก้นชนิดสมบูรณ์ (Complete breech หรือ double breech )
3.ท่าก้นชนิดไม่สมบูรณ์ (Incompletebreech)เป็นท่า ก้นที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของขาอยู่ต่ากว่ากระดูกก้นกบ (sacrum)
อันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการคลอดท่าก้น
ทารก
ทารกขาดออกซิเจน
กระดูกหักและข้อเคลื่อน
อวัยวะในช่องท้องฉีกขาด
มารดา
ช่องทางคลอดฉีกขาด
ตกเลือดหลังคลอด
สาเหตุ
ทารกมีความผิดปกติ เช่น hydrocephalus
คลอดก่อนกำหนด (Preterm Labor) และทารกตัวเล็ก
มีสิ่งขีดขวางช่องเชิงกราน เช่น ภาวะCPD รกเกาะต่ำ (Placenta previa) เนื้องอกของอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
ครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios)
ผนังหน้าท้องหนา หย่อนยาน เช่น ครรภ์หลัง
Manual remove of placenta