Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมดลูกแตก Uterine Rupture :star: - Coggle Diagram
ภาวะมดลูกแตก
Uterine Rupture :star:
ความหมาย
หลังจากที่ทารกโตพอที่จะมีชีวิตอยู่ได้
ไม่นับการแตกของมดลูกที่ไม่ได้ตั้งครรภ์
การฉีกขาด การแยก การแตก หรือการทะลุของมดลูกขณะตั้งครรภ์ขณะเจ็บครรภ์คลอด หรือขณะคลอด
สาเหตุ
มดลูกแตกจากการได้รับการกระทบกระเทือน
มดลูกแตกจากรอยแผลเดิม เช่น P/S
มดลูกแตกเอง เช่น CPD
ชนิดของภาวะมดลูกแตก
incomplete uterine ruptured
กล้ามเนื้อมดลูก แต่ไม่ทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้อง
ทารกยังคงอยู่ภายในโพรงมดลูก
การฉีกขาดของมดลูกชั้นเยื่อบุมดลูก
มักเกิดกับรอยแผลเก่าบนผนังมดลูก
complete uterine ruptured
ทารกจึงหลุดออกไปอยู่ในช่องท้องบางส่วนหรือทั้งหมด
การฉีกขาดของมดลูกทั้ง 3 ชั้นของผนังมดลูก
แตกทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้อง
พยาธิสภาพ
การแตกของมดลูกส่วนล่าง
สูญเสียเลือดมากกว่าการแตกบริเวณมดลูกส่วนบน
การแตกของมดลูกชนิดสมบูรณ์
ทารกหลุดเข้าไปอยู่ในช่องท้องมารดา
เสียเลือดมากกว่าการแตกชนิดไม่สมบูรณ์
ระยะคลอด
มักเกิดบริเวณมดลูกส่วนล่าง จากการหดรัดตัวถี่และรุนแรงขณะเจ็บครรภ์คลอด
กล้ามเนื้อมดลูกส่วนล่างถูกดึงให้บางและยืดออก เพื่อให้ทารกเคลื่อนต่ำลงสู่ช่องทางคลอด
จนกระทั่งมดลูกเป็น Bandl’s ring
เมื่อมดลูกแตก
ทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซเจนเนื่องจากมารดาเสียเลือดปริมาณมาก
ขณะตั้งครรภ์
เลือดคั่งอยู่ในช่องท้อง
จะปรากฎให้เห็นทางช่องคลอด
อาการและอาการแสดง
ก่อนมดลูกแตก
4.มองเห็นหน้าท้องเป็น Bandl’s ring
มีการหดรัดตัวถี่และรุนแรงของมดลูก
3.การคลอดไม่ก้าวหน้า
fetal distress อาจพบ FHS ไม่สม่ำเสมอ
2.กระสับกระส่าย PR เบาเร็ว RR ไม่สม่ำเสมอ
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอด
เจ็บปวดบริเวณท้องน้อยอย่างรุนแรง
มดลูกแตกแล้ว
ถ้ามดลูกแตกขณะเจ็บครรภ์ อาการเจ็บครรภ์จะหายไปทันที
อาจพบว่ามีเลือดออกทางช่องคลอดจำนวนเล็กน้อย
คล าพบส่วนของทารกชัดเจนขึ้น
ท้องโป่งตึงและปวดท้องอย่างรุนแรงจากเลือด น้ำคร่ำ ระคายเยื่อบุช่องท้อง
1.เจ็บปวดบริเวณมดลูกส่วนล่างอย่างรุนแรงและมารดารู้สึกว่ามีการฉีกขาดของอวัยวะภายใน
FHS เปลี่ยนแปลงโดยอาจช้าหรือเร็ว หรือหายไป
PV พบส่วนน าลอยอยู่สูงขึ้นจากเดิม
มีภาวะ Hypovolemic shock
แนวทางการรักษา
การผ่าตัด
ในรายที่รอยแตกไม่มาก ไม่กระรุ่งกระริ่งและผู้คลอดต้องการมีบุตรอีกจะเย็บซ่อมแซมมดลูก
ถ้าเย็บซ่อมแซมได้และไม่ต้องการมีบุตรให้ทำหมัน
กรณีที่เย็บซ่อมแซมไม่ได้ตัดมดลูกทิ้ง
ให้เลือดและยาปฏิชีวนะ เพื่อป้องกันการติดเชื้อในช่องท้อง
เตรียมผู้คลอด C/S และตามกุมารแพทย์เพื่อ CPR ทารก
กรณีที่ทารกเสียชีวิต ต้องให้การดูแลสุขภาพจิตของผู้คลอดและครอบครัว
ถ้ามีภาวะช็อค ให้ RLS, เตรียมเลือดให้พร้อมและให้ออกซิเจน
การพยาบาล
ป้องกันมากกว่าการแก้ไขภาวะมดลูกแตก
เฝ้าดูแลความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
ผู้คลอดที่ได้รับยาเร่งคลอด ควรประเมิน UC และ FHS อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
ประเมินและวินิจฉัยปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะมดลูกแตกในผู้คลอด ดูแลอย่างใกล้ชิดและรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาผ่าตัดทำคลอด
สังเกตอาการและอาการแสดงก่อนมดลูกแตก หากรีบรายงานแพทย์ทันที
P/S แนะนำให้เว้นระยะของการตั้งครรภ์อย่างน้อย 2 ปี
เมื่อเกิดภาวะมดลูกแตก
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟิ้นคืนชีพ และราบงานกุมารแพทย์
ดูแลให้ ATB ป้องกันกรติดเชื้อในช่องท้องตามแผนการรักษา
เตรียมผู้คลอดให้พร้อม C/S
เฝ้าระวังภาวะตกเลือด เช่นเดียวกับมารดาหลังคลอดปกติ
ประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอดและอาการของภาวะช็อก
ปลอบโยนให้กำลังใจผู้คลอดและครอบครัว และเปิดโอกาสให้พูดแสดงค.รูู้สึก หรือซักถามในกรณีสูญเสียบุตร
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน และเลือดตามแผนการรักษา
ประเมิน V/S และ FHS ทุก 5 นาที
NPO และให้ IV fluid ตามแผนการรักษา ติดตามและรายงานสูติแพทย์ทราบ