Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความเครียด ถ้าบุคคลมีความเครียดมากขึ้น จะมีความไวต่อการติดเชื้อง่าย
ภาวะโภชนาการ คนที่ขาดอาหารมักติดโรคต่างๆได้ง่าย เช่น วัณโรค
อายุ ในเด็กมีความไวต่อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด ทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย เช่น คนที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสี
ความอ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอจะติดเชื้องาย
อาชีพ บางอาชีพมีโอกาสที่จะสัมผัสกับเชื้อได้ง่าย
เพศ โรคบางชนิดพบมากในแต่ละเพศไม่เท่ากัน
กรรมพันธุ์ เช่น บางคนขาดสาร Immunoglobulin
ซึ่งเป็นตัวสำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกัน
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง มีความต้านทานต่ำกว่าคนปกติ
ความร้อนหรือเย็น
วงจรการติดเชื้อ
เชื้อก่อโรค
หมายถึงเชื้อจุลทรีย์ที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อขึ้นอยู่กับ
ความสามารถในการเพิ่มจำนวนและเจริญเติบโต
เชื้อก่อโรคแบ่งได้เป็น 5ชนิด
1.แบคทีเรีย ได้แก่แบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบ เช่น Staphylococcus epidermidis และClostridium difficile
2.โปรโตซัว เช่น Entamoeba histolytica ทำให้เกิดโรคบิด
3.เชื้อรา เช่นCandida albicans
4.ไวรัส เช่นเชื้อหัด อีสุอีไส
5.พยาธิ เช่น พยาธิใบไม้ในตับ
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค (Reservois)
แล้งเชื้อโรคเป็นเชื้อที่ให้เชื้อโรคเจริญเติบโตและมีการขยายตัว
แหล่งเชื้อโรคอาจเป็นคน สัตว์ พืช ดิน อมลงต่างๆ เช่นเหา เห็บ
ทางออกของเชื้อ (Portal of exit)
เขื้อจุลชีพออกจากร่างกายของคนเป็นโรคได้หลายช่องทาง
ออกมาทางเดินหายใจ โดยเชื้อออกมาพร้อมน้ำมูก
เชื้อออกมาทางระบบสืบพันธุ์ ระบบทางเดินปัสสาวะ
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ
( Mode of transmission )
การสัมผัส
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนำ
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล
( Susceptibie host )
ภายหลังที่เชื้อจุลชีพเข้าไปในร่างกายจะทำให้บุคคลติดเชื้อง่ายหรือยากขึ้นอยู่กับภูมิคุ้มกัน
ทางเข้าของเชื้อ ( Portal of entry )
เข้าทางผิวหนังที่ฉีดขาด
เข้าทางเดินอาหาร
เข้าทางเดินหายใจ
กระบวนการพยาบาลในการป้องกัน
และควบคุมการติดเชื้อ
การประเมินความเสี่ยงต่อการ
ติดเชื้อของผู้ป่วย ( Assessment )
ตรวจร่างกายเกี่ยวกับโรคผู้ป่วย
การรักษาที่ได้รับ
โดยการซักประวิติ
ติดตามผลห้องปฏิบัติการ
การวินิฉัยทางการพยาบาล
( Nursing diagnosis )
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
มีโอกาสเกิดการระบาดของโรคชุมชน
วางแผลและให้การพยาบาล
( planning and implementation )
ใช้หลัก Airborne precautions
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยและญาติ
ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาลผู้ป่วย
รายงานอุบัติการณ์การเฝ้าระวังการเกิดโรคต่อคณะกรรมการ
การประเมินผลการพยาบาล
( Evaluation )
ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสู่ญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย
การติดเชื้อลดลง
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
Transmission-base
precautions
1.การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
2.การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูกน้ำลาย
3.การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส
Standard precautions
3.หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระวัง
4.ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลืออดอย่างถูกวิธี
5.บรรจุผ้าเปื้อนในถงพลาสติกผูกปากให้แน่น
คือ แนวการปฏิบัติของ Universal precautions และ Body substamcsisojation ซึ่งเป็นการป้องกันการแพร่กระจาย
เชื้อจากเลือดสารคัดหลั่งทุกชนิด การขับถ่าย
ทำความสะอาดและทำลายเชื้อ
1.ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
2.สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
7.หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่ ควรให้สะอาดและแห้ง
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อต้องกระทำอย่างถูกต้อง
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่าถูกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันน้อย ควรจะแยกจากแหล่งเชื้อโรค
การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฎิบัติงานในโรงพยาบาล
กำจัดเชื้อโรค
การทำลายเชื้อ และ
การทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อ ( Disinfection )
การกำจัดเชื้อจุลชีพบางชนิดที่แปดเปื้อนผิวหนัง
อุปกรณืเครื่องมือทางการแพทย์
1.การล้าง ผู้ล้างต้องระวังมิให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
2.การต้ม การวิธีการทำลายเชื้อที่ดีที่สุด
แนะนำให้ต้มเดือดนาน20นาที
3.การใช้สารเคมี เป็นวิธีการสุดท้ายที่จะใช้ถ้าไม่มีวิธีอื่น
4.การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
การทำให้ปราศจากเชื้อ ( Sterilization )
วิธีทางกายภาพ
การใช้ความร้อนเช่น การเผา การใช้ความร้อนแห้ง
การต้ม การนึ่งไอน้ำภายใต้ความดัน
การใช้รังสี รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา
วิธีทางเคมี
การใช้แก๊ส
การใช้ High-level disinfectant
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
องค์ประกอบการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรค ส่วนใหญ่เป็นเชื้อประจำถิ่น
คน ผู้ที่ติดเชื้อในโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วย
สิ่งแวดล้อม เช่น อาคาร สถานที่ เครื่องมือเครื่องใช้
การแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง คือการสัมผัสระหว่างคนต่อคน เกิดจากการที่มือไปสัมผัสแหล่งโรคแล้วสัมผัสผู้ป่วย
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสทางอ้อม โดยการสัมผัสกับสิ่งของหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีการปนเปิ้อนเชื้อหรือของเล่นในแผนกเด็กป่วย
การแพร่กระจาย
เชื้อโดยฝอยละออง
เกิดจากการสัมผัสกับฝอยละอองน้ำมูกน้ำลาย
ที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมโคบอน
การแพร่กระจาย
เชื้อทางอากาศ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสูดดมหายใจเอาเชื้อที่อยู่ในอากาศเข้าไป
การแพร่กระจายเชื้อ
โดยการผ่านสื่อนำ
เกิดจากการที่มีจุลชีพปนเปื้ออยู่ในเลือด ผลิตภัณฑ์ อาหาร น้ำ ยา
การแพร่กระจายเชื้อ
โดยสัตว์เป็นพาหะ
คนได้รับเชื้อจากการถูกแมลงหรือสัตว์กัด