Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต, นางสาวกัญญาพัชร…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
สาเหตุ
2.Acute or Chronic renal disease
3.Exacerbation of chronic hypertension
1.การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
4.การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
อาการและอาการแสดง
อาการที่พบขึ้นอยู่กับ Vascular injury และ end organ ตามระบบต่างๆ
MI
Unstable angina
Acute cardiovascular syndrome
Pumonary edema
Aortic dissection
การซักประวัติ
โรคประจำตัว เกี่ยวกับ HT การสูบบุหรี่ การรับประทานยาที่สม่ำเสมอ ประวัติครอบครัวครัว
การตรวจร่างกาย
ตรวจระบบประสาท
V/S ดัชนีมวลกาย น้ำหนัก ส่วนสูง เส้นรอบเอว
ประเมินเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง แขนขาออ่อนแรง มองไม่ชัด ระดับความรู้สึกตัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ CBC
ตรวจการทำงานของไต
การรักษา
เข้ารับการรักษาที่ ICU ให้ยาลดความดันโลหิต เพื่อลดความดันให้อยู่ในระดับที่ต้องการ
การพยาบาล
2.ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยา
3.การรักษาด้วย Short-acting intravenous antihypertensive agents
1.ในระยะAcute เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดของอาการและอาการแสดง
4.ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
5.ให้ความรู้ ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษา
Cardiac dysrhythmias
สาเหตุ
พบได้บ่อยในผู้ป่วยที่เป็นโคหัวใจ ความดันโลหิตสูง
การพยาบาล
2.สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
3.ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
1.ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
4.ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งจตัวของเลือดตามแผนการรักษา
5.เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
6.เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง ในผู้ป่วย AF และไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
ประเภทของAF
3.Permanent AF
4Recurrent AF
5.Lone AF
2.Persistent AF
1.Paroxysmal AF
ประเภทVT
2.Sustained VT
3.Monomorphic
1.Nonsustained VT
4.Polymorphic VT
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง(MI) Rheumatic heart disease ถูกไฟฟ้าดูด
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันที ผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น BP drop หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
3.ร่วมกับเเพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
4.ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียมผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioverson
2.คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ เพื่อประเมินภาวะเลือดไปเลี้ยงสมอง และอวัยวะสำคัญลดลง
5..ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ทำการช็อกไฟฟ้าหัวใจ ในระหว่างเตรียมเครื่องให้ทำการกดหน้าอกจนกว่าเครื่องจะพร้อมปล่อยกระแสไฟฟ้า
1.นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที และเปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้ยาและสารน้ำ
6.ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
VF
สาเหตุ
4.Hypokalemia
5.Hyperkalemia
3.Hydrogen ion
6.Hypothermia
2.Hypoxia
7.Tension pneumothorax
1.Hypovolemia
8.Cardiac temponade
9.Toxins
10.Pulmonary thrombosis
11.Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย
การพยาบาล
1.ป้องกันภาวะ Tissue hypoxia ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
2.ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด
3.ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษา
4.ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยงลดลง
5.ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้า โดยเฉพาะ ST
6.ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษาและเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำ synchronized cardioversion
Acute Heart Failure
ชนืดของหัวใจที่แบ่งตามเวลา
2.Transient หัวใจล้มเหลวที่มีอาการชั่วขณะ
3.Chronic หัวใจล้มเหลวอาการเรื้อรัง
1.New Onset หัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นครั้งแรก
ชนืดของหัวใจล้มเหลวแบ่งตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Diastolic heart failure หัวใจล้มเหลวที่เกิดร่วมกับการบีบตัวของหัวใจล้มเหลวที่เกิดร่วมกับการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายปกติ
Sye]stolic heart failure หัวใจล้มเหหลวที่เกิดร่วมกับการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามอาการและอาการแสดง
Left sided - heart failure เป็นอาการแสดงที่เกิดจากหัวใจห้องล่างซ้ายหรือบนซ้าน
Right sided - heart failure เป็นอาการทีแสดงที่เกิดจากหัวใจห้องล่างขวาหรือบนขวา
ชนิดของหัวใจล้มเหลวตามลักษณะของ CO
High - output heart failure เป็นภาวะที่ร่างกายแสดงอาการความต้องการปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจมากกว่าปกติ
Low - output heart failure ภาวะที่หัวใจบีบเลือดออกจากหัวใจได้น้อยลง
สาเหตุของHeart failure
Valvular heart disease
Myocardial disease
Congenital heart disease
Constrictive pericarditis
Coronoary artery disease
อาการและอาการแสดง
Dependent part
Fatigue
Dyspnea
Hepatic congestion
อาการแสดงที่พบบ่อย
Pitting edema
Hepatomegaly
Lung Crepitation
เสียงหัวใจผิดปกติ S3 , S4 gallop หรือ Cardiac murmur
Cardiomegaly
Jugular vein distention
Tachycardia,Tachypnea
การวินิจฉัย
Electrocardiography
การตรวจเลือด
CXR
Echocardiography
การพยาบาล
7.ช่วยให้ผู้ป่วยเผชิญกับความเจ็บป่วย โดยการให้ข้อมูล การระบาย
8.ช่วยผู้ป่วยในการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการได้อย่างเหมาะสม
6.จำกัดน้ำในแต่ละวันตามแนวทางการรักษาโดยในรายที่ไม่รุนแรงให้จำกัดประมาณ 800 - 1000 cc
5.ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
4.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
3.ประเมินV/Sทุก 1 ชั่วโมง
2.จัดท่า Fowler's positionหรือนั่งฟุบบนโต๊ะข้างเตียง
1.ดูแลผู้ป่วยได้ Bed rest
Shock
ประเภท
Hyperdynamic shock
เป็นภาวะช็อกที่CO ต่ำและเป็นภาวะช็อกที่หลอดเลือดตีบส่งผลให้ DBP สูง pulse pressure แคบทำให้ SVR สูง
Hypodynamic shock
เป็นภาวะช็อกที่ CO สูง เป็นช็อกที่หลอดเลือดขยายตัว ส่งผลให้DBP ต่ำ และ pluse pressure กว้างทำให้ SVR ต่ำ
ในภาวะช็อกเป้าหมายของการรักษาอยู่ที่การรักษา MAP ให้อยู่ที่ 65 มม.ปรอท ในpt.ที่มีความดัน
โลหิตปกติ
การรักษา
1.การรักษาจำเพาะ
2.การรักษาประคับประอง
การให้สารน้ำในภาวะช็อก
2.Right side cardiogenic shock
3.Obstructive shock
1.Hypovolemic shock
4.Distributive shock
ตำแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ำ
2.การให้สารน้ำทาง Peripheral vein ช่วยให้หลอดเลือดขยายตัว
3.สารน้ำที่ให้ทาง Peripheral vein จะใช้เวลานานกว่าไปถึงหัวใจ
1.การให้สารน้ำทาง Peripheral vein มากกว่าการให้สารน้ำผ่านทาง central venous cather
การให้สารน้ำในภาวะช็อก ควรใช้ขนาดเข็มที่ให้สารน้ำ NO.16,18
การให้สารน้ำในpt.ที่อยู่ในภาวะช็อกทุกประเภทยกเว้น Left - sided cardiogenic shock ที่ไม่สามารถให้สารน้ำได้
สารน้ำมี 2 ประเภท
Crystalloids
Normal saline
เป็นสารน้ำที่นิยมใช้มากที่สุด
Ringer's lactate solution
Ringer's acetate solution
Colloids
ข้อควรระวัง
1.Volume overload
2.Hypernatremia
3.Hyperchlorermic
นางสาวกัญญาพัชร โตสกุล 6001211344 61A