Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ :check: -…
บทที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ :check:
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายแพ่ง
กฎหมายแพ่ง เป็นส่วนหนึ่งในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ปพพ.) ที่กำหนดสิทธิ หน้าที่ และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนโดยทุกฝ่ายมีฐานะเท่าเทียมกัน
กฎหมายพาณิชย์ เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าขายหรือกิจการใดๆ ที่ได้กระทำในเรื่องหุ้นส่วนบริษัท ประกันภัย ตั๋วเงิน
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เกี่ยวกับวิธีการดำเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีที่เกิดข้อพิพาทในทางแพ่งขึ้น
นิติกรรม
ปพพ. มาตรา 149 การใดๆ อันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัครมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
หมายถึง การกระทำของบุคคลด้วยใจสมัครและถูกต้องตามกฎหมาย มุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับสิทธิระหว่างบุคคล
องค์ประกอบของนิติกรรม
ผู้กระทำต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน
การกระทาโดยเจตนา
การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง
การแสดงเจตนาโดยปริยาย
การกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย
ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธิ
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจานวนคู่กรณี
นิติกรรมฝ่ายเดียว
นิติกรรมหลายฝ่าย
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต
3.นิติกรรมที่พจิารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
ความสามารถของบุคคล (Capacity) หมายถึง สภาพที่กฎหมายกาหนดขอบเขตให้บุคคลมีสิทธิหรือ ใช้สิทธิ ความสามารถของบุคคลเป็นสิ่งสาคัญต่อการพิจารณาความรับผิดทางกฎหมาย
บุคคล หมายถึง สิ่งซึ่งสามารถมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย ทั้งนี้กฎหมายไม่จากัดเฉพาะมนุษย์เท่านั้น ที่เป็นบุคคล แต่รวมไปถึงสิ่งต่างๆ ที่กฎหมายบัญญัติรับรองการเป็นบุคคล
บุคคลธรรมดา
การตายโดยธรรมชาติ
การสาบสูญ เป็นเวลาติดต่อกัน 5 ปี ในเหตุการณ์ปกติ หรือเป็นเวลา 2 ปี ในกรณีที่มีเหตุอันตรายจากการรบ การสงคราม หรือยานพาหนะอับปาง
นิติบุคคล
ผู้เยาว์ (Minor)
นิติกรรมที่ทาให้ผู้เยาว์ได้ประโยชน์ สิทธิ หรือหลุดพ้นจากหน้าที่ (ปพพ. มาตรา 22)
นิติกรรมที่ผู้เยาว์ต้องกระทาเองเฉพาะตัว (ปพพ. มาตรา 23)
นิติกรรมที่สมควรแก่ฐานะและจาเป็นแก่การดารงชีพ (ปพพ. มาตรา 24)
นิติกรรมการจาหน่ายทรัพย์สิน ประกอบธุรกิจการค้า หรือสัญญาจ้างแรงงานที่ผู้แทน โดยชอบธรรมอนุญาตหรือยินยอม ผู้เยาว์สามารถกระทาต่อเนื่องได้ (ปพพ. มาตรา 26 และ 27)
คนไร้ความสามารถ (Incompetence) คนวิกลจริต (Unsound mind) หรือ อยู่ในภาวะผัก (Vegetative state)
ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
สามีภริยา
คนเสมือนไร้ความสามารถ
กายพิการ ร่างกายพิการไม่สมประกอบแต่กำเนิด หรือเป็นภายหลังเพราะเจ็บป่วยหรืออุบัติเหต
จิตฟั่นเฟือน คนจิตไม่ปกติ
ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย เสเพลเป็นอาจิณ
ติดสุรายาเมา
สภาพบังคับทางแพ่ง
โมฆะกรรม
นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
นิติกรรมที่ไม่ได้ทาให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกาหนด
การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิดในสาระสาคัญแห่งนิติกรรม
โมฆียกรรม
ความสามารถของบุคคล
การแสดงเจตนาโดยวิปริต
การบังคับชาระหนี้
การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน
ความเสียหายที่คานวณราคาเป็นเงินได้
ความเสียหายที่ไม่อาจคานวณราคาเป็นตัวเงินได้
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
สัญญา หมายถึง การกระทาของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ที่แสดงเจตนาด้วยใจสมัครถูกต้องตรงกันที่ จะกระทาหรืองดเว้นการกระทา และตกลงกันทุกข้อโดยไม่มีข้อสงสัย โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะก่อให้เกิดผล ผูกพันโดยชอบตามกฎหมาย (ปพพ. มาตรา 366)
ความรับผิดจากการละเมิด
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
การกระทำโดยจงใจ
การกระทำโดยประมาทเลินเล่อ
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
ความเสียหายแก่ชีวิต
ความเสียหายแก่ร่างกาย
ความเสียหายแก่อนามัย
ความเสียหายแก่เสรีภาพ
ความเสียหายแก่ทรัพย์สินและสิทธิต่างๆ
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทา (แสงทอง ธีระทองคำ และไสว นรสาร, 2560)
นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งการละเมิด ซึ่งลูกจ้างได้กระทาไปตามที่ว่าจ้าง
(ปพพ. มาตรา 425)
ตัวการต้องรับผิดชอบผลแห่งการละเมิดของตัวแทนที่ได้กระทาไปภายในของเขตอานาจของ ตัวแทน ซึ่งกระทาตามที่ตัวการมอบหมาย (ปพพ. มาตรา 427)
บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต ต้องร่วมรับผิดในผลแห่งการละเมิดที่ ผู้เยาว์หรือผู้วิกลจริตกระทา เว้นแต่พิสูจน์ได้ว่า ได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรในหน้าที่การดูแล (ปพพ. มาตรา 429)
ครูบาอาจารย์ นายจ้างหรือบุคคลอื่น ซึ่งรับดูแลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์ หรือชั่วครั้งคราว จะต้องร่วมรับผิดกับผู้ไร้ความสามารถในการละเมิด ซึ่งได้กระทาระหว่างอยู่ในความดูแลของตน หากพิสูจน์ได้ ว่า ครูบาอาจารย์ นายจ้าง หรือบุคคลอื่นมิได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควร (ปพพ. มาตรา 430)
อายุความ คือ ระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดให้บุคคลมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายภายในระยะเวลาที่กฎหมายกาหนด ถ้าผู้เสียหายใช้สิทธินั้นร้องเรียนต่อศาลเกินระยะเวลาที่กาหนด ศาลจะมีคาสั่งยกฟ้องได้ เนื่องจากคดีขาดอายุความ ทั้งนี้ผู้เสียหายมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจากการละเมิดภายใน 1 ปี นับแต่วันที่รู้เรื่องการละเมิดและรู้ตัวผู้กระทาละเมิด และไม่เกิน 10 ปี นับแต่วันทาละเมิด ทั้งนี้การกระทาบาง เรื่องที่ผิดทั้งสัญญาและละเมิด จะให้ผลแตกต่างในเรื่องอายุความ โดยการทาละเมิดมีอายุความ 1 ปี ส่วนการ ผิดสัญญามีอายุความ 10 ปี ในกรณีที่เป็นคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา และอายุความทางอาญายาวกว่า ให้ ใช้อายุความที่ยาวกว่ามาบังคับใช้ (ปพพ. มาตรา 448)
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๑๕ สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารกและสิ้นสุดลงเมื่อตาย
มาตรา ๑๙ บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยี่สิบปีบริบูรณ์
มาตรา ๒๐ ผู้เยาว์ย่อมบรรลุนิติภาวะเมื่อทำการสมรส หากการสมรสนั้นได้ทำตามบทบัญญัติมาตรา ๑๔๔๘
มาตรา ๒๑ ผู้เยาว์จะท านิติกรรมใดๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน
มาตรา ๒๒ ผู้เยาว์อาจทำการใด ๆ ได้ทั้งสิ้น หากเป็นเพียงเพื่อจะได้ไปซึ่งสิทธิอันใดอันหนึ่งหรือเป็นการเพื่อให้หลุดพ้นจากหน้าที่อันใดอันหนึ่ง
มาตรา ๒๓ ผู้เยาว์อาจทำการใดๆ ได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการต้องทำเองเฉพาะตัว
มาตรา ๒๔ ผู้เยาว์อาจทำการใดๆ ได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการสมแก่ฐานานุรูปแห่งตนและเป็นการอันจำเป็นในการดำรงชีพตามสมควร
มาตรา ๒๕ ผู้เยาว์อาจทำพินัยกรรมได้เมื่ออายุสิบห้าปีบริบูรณ์
มาตรา ๒๖ ถ้าผู้แทนโดยชอบธรรมอนุญาตให้ผู้เยาว์จำหน่ายทรัพย์สินเพื่อการอันใดอันหนึ่งอันได้ระบุไว้ ผู้เยาว์จะจำหน่ายทรัพย์สินได้ตามใจ
มาตรา ๒๗ ผู้แทนโดยชอบธรรมอาจให้ความยินยอมแก่ผู้เยาว์ในการประกอบธุรกิจทางการค้าหรือธุรกิจอื่น
มาตรา ๒๘ บุคคลวิกลจริตผู้ใด ถ้าคู่สมรสก็ดี ผู้บุพการี ร้องขอต่อศาลให้สั่งให้บุคคลวิกลจริตผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถ ศาลจะสั่งให้บุคคล
วิกลจริตผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถก็ได้
มาตรา ๒๙ การใดๆ อันบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้กระทำลง การนั้นเป็นโมฆียะ
มาตรา ๓๑ ถ้าเหตุที่ทำให้เป็นคนไร้ความสามารถได้สิ้นสุดไปแล้ว ร้องขอต่อศาลก็ให้ศาลสั่งเพิกถอนคำสั่งที่ให้เป็นคนไร้ความสามารถนั้น
มาตรา ๓๒ บุคคลใดมีกายพิการหรือมีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือประพฤติสุรุ่ยสุร่าย เสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา ศาลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถก็ได้
มาตรา ๓๓ ในคดีที่มีการร้องขอให้ศาลสั่งให้บุคคลใดเป็นคนไร้ความสามารถเพราะวิกลจริต ถ้าทางพิจารณาได้ความว่าบุคคลนั้นไม่วิกลจริต แต่มีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ศาลอาจสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถก็ได้
มาตรา ๓๔ คนเสมือนไร้ความสามารถนั้น ต้องได้รับความยินยอมของผู้พิทักษ์ก่อนแล้วจึงจะทำการอย่างหนึ่งอย่างใดได้
มาตรา ๓๖ ถ้าเหตุที่ศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถได้สิ้นสุดไปแล้ว ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๓๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๖๑ ถ้าบุคคลใดได้ไปจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ ตลอดระยะเวลาห้าปี เมื่อผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการร้องขอศาลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนสาปสูญก็ได้
มาตรา ๖๒ บุคคลซึ่งศาลได้มีคำสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ให้ถือว่าถึงแก่ความตายเมื่อครบกำหนดระยะเวลาดังที่ระบุไว้ในมาตรา ๖๑
มาตรา ๖๓ เมื่อบุคคลผู้ถูกศาลสั่งให้เป็นคนสาบสูญยังคงมีชีวิตอยู่ก็ดี หรือว่าตายในเวลาอื่นผิดไปจากเวลาดังระบุไว้ในมาตรา ๖๒ ก็ดี ให้ศาลสั่งถอนคำสั่งให้เป็นคนสาบสูญนั้น
มาตรา ๖๔ คำสั่งศาลให้เป็นคนสาบสูญหรือคำสั่งถอนคำสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๖๕ นิติบุคคลจะมีขึ้นได้ก็แต่ด้วยอาศัยอำนาจแห่งประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น
มาตรา ๖๖ นิติบุคคลย่อมมีสิทธิและหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นภายในขอบแห่งอำนาจหน้าที่
มาตรา ๘๓ สมาคมที่ได้จดทะเบียนแล้วเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๑๒๒ มูลนิธิที่ได้จดทะเบียนแล้วเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๑๔๙ นิติกรรม หมายความว่า การใดๆ อันท าลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัครมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
มาตรา ๑๕๐ การใดมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็นการพ้นวิสัยหรือเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นถือเป็นโมฆะ
มาตรา ๑๕๑ การใดเป็นการแตกต่างกับบทบัญญัติของกฎหมาย ถ้ามิใช่กฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นไม่เป็นโมฆะ
มาตรา ๑๕๒ การใดมิได้ทำให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายบังคับไว้ การนั้นเป็นโมฆะ
มาตรา ๑๕๓ การใดมิได้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยความสามารถของบุคคล การนั้นเป็นโมฆียะ
มาตรา ๑๕๗ การแสดงเจตนาโดยส าคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์สินเป็นโมฆียะ
มาตรา ๑๕๙ การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉลเป็นโมฆียะ
มาตรา ๑๖๔ การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่เป็นโมฆียะ
มาตรา ๑๗๒ โมะะกรรมนั้นไม่อาจให้สัตยาบันแก่กันได้ และผู้มีส่วนได้เสียคนหนึ่งคนใดจะยกความเสียเปล่าแห่งโมะะกรรมขึ้นกล่าวอ้างก็ได้
มาตรา ๑๗๓ ถ้าส่วนหนึ่งส่วนใดของนิติกรรมเป็นโมฆะ นิติกรรมนั้นย่อมตกเป็นโมฆะทั้งสิ้น
มาตรา ๑๗๔ การใดเป็นโมฆะแต่เข้าลักษณะเป็นนิติกรรมอย่างอื่นซึ่งไม่เป็นโมฆะ ให้ถือตามนิติกรรมซึ่งไม่เป็นโมฆะ
มาตรา ๑๗๕ โมะียะกรรมนั้น บุคคลต่อไปนี้จะบอกล้างเสียก็ได้
มาตรา ๑๗๖ โมฆียะกรรมเมื่อบอกล้างแล้ว ให้ถือว่าเป็นโมฆะมาแต่เริ่มแรก และให้ผู้เป็นคู่กรณีกลับคืนสู่ฐานะเดิม
มาตรา ๑๗๗ ถ้าบุคคลผู้มีสิทธิบอกล้างโมฆียะกรรมตามมาตรา ๑๗๕ ผู้หนึ่งผู้ใด ได้ให้สัตยาบันแก่โมฆียะกรรม
มาตรา ๑๗๘ การบอกล้างหรือให้สัตยาบันแก่โมฆีะยะกรรม ย่อมกระทำได้โดยการแสดงเจตนาแก่คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งเป็นบุคคลที่มีตัวกำหนดได้แน่นอน
มาตรา ๑๘๑ โมะียะกรรมนั้นจะบอกล้างมิได้เมื่อพ้นเวลาหนึ่งปีนับแต่เวลาที่อาจให้สัตยาบันได้หรือเมื่อพ้นเวลาสิบปีนับแต่ได้ทำนิติกรรมอันเป็นโมฆียะนั้น
มาตรา ๓๖๖ ข้อความใดๆ แห่งสัญญาอันคู่สัญญาแม้เพียงฝ่ายเดียวได้แสดงไว้ว่าเป็นสาระสำคัญนับว่ายังมิได้มีสัญญาต่อกัน
มาตรา ๔๒๐ ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดีต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา ๔๒๕ นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งละเมิด ซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่จ้างนั้น
มาตรา ๔๒๖ นายจ้างซึ่งได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอกเพื่อละเมิดอันลูกจ้างได้ทำนั้น ชอบที่จะได้ชดใช้จากลูกจ้างนั้น
มาตรา ๔๒๗ บทบัญญัติในมาตราทั้งสองก่อนนั้น ท่านให้ใช้บังคับแก่ตัวการและตัวแทนด้วยโดยอนุโลม
มาตรา ๔๒๙ บุคคลใดแม้ไร้ความสามารถเพราะเหตุเป็นผู้เยาว์หรือวิกลจริตก็ยังต้องรับผิดในผลที่ตนทำละเมิด
มาตรา ๔๓๐ ครูบาอาจารย์ นายจ้าง หรือบุคคลอื่นซึ่งรับดูแลบุคคลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์ก็ดี ชั่วครั้งคราวก็ดี จ าต้องรับผิดร่วมกับผู้ไร้ความสามารถในการละเมิด
มาตรา ๔๓๘ ค่าสินไหมทดแทนจะพึงใช้โดยสถานใดเพียงใดนั้น ให้ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด
มาตรา ๔๔๓ ในกรณีท าให้เขาถึงตายนั้น ค่าสินไหมทดแทนได้แก่ค่าปลงศพรวมทั้งค่าใช้จ่ายอันจำเป็นอย่างอื่น ๆ อีกด้วย
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาล และการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความหมายและวัตถุประสงค์ของกฎหมายอาญา
กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายมหาชน ซึ่งบัญญัติว่าการกระทาใดเป็นความผิด และกาหนดโทษอาญาแก่ ผู้ฝ่าฝืน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมความประพฤติของบุคคลให้อยู่ในสังคมด้วยความสงบเรียบร้อย รักษา โครงสร้างของสังคมให้มั่นคง คุ้มครองความปลอดภัย
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
ความผิดต่อส่วนตัว
ลักษณะสาคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกาหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
การกระทำ
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทานั้นเป็นความผิดและกาหนดโทษ
กระทาโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
การกระทาโดยเจตนา
การกระทาโดยประมาท
วิสัย
พฤติการณ์
การกระทาโดยไม่เจตนา
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
เหตุยกเว้นความรับผิด
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้เสียหายยินยอมให้กระทา
เหตุยกเว้นโทษ
กระทาด้วยความจาเป็น
การกระทาผิดเพราะความบกพร่องทางจิต
การกระทาตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน
การกระทาของเด็กอายุไม่เกิน10ป
การกระทาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
เหตุลดหย่อนโทษ
การกระทาความผิดโดยไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด
การกระทาโดยบันดาลโทสะ
อายุความ
อายุความฟ้องคดีทั่วไป
อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้
โทษทางอาญา
โทษประหารชีวิต
โทษจาคุก
โทษกักขัง
โทษปรับ
โทษริบทรัพย์สิน
ลหุโทษ หมายถึง ความผิดที่ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (ปอ. มาตรา 102)
การทางานเพื่อบริการสังคม
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ (Malpractice / Professional negligence / Professional misconduct)
1) ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ (Failure to follow standard of care)
2) ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง (Failure to use equipment in a responsible manner)
3) ความบกพร่องด้านการสื่อสาร (Failure to communication)
4) ความบกพร่องด้านการบันทึก (Failure to document)
5) ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ (Failure to assess and monitor)
6) ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย (Failure to act as patient advocate)
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพกับการปฏิเสธการรักษา
2) ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ตาบอดหูหนวกลิ้นขาดหรือเสียฆานประสาท
เสียอวัยวะสืบพันธุ์ หรือความสามารถสืบพันธุ์
เสียแขนขามือเท้านิ้วหรืออวัยวะอื่นใด
หน้าเสียโฉมอย่างติดตัว
แท้งลูก
จิตพิการอย่างเต็มตัว
ทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยเรื้อรัง
ทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยด้วยอาการทุกขเวทนาเกินกว่า20วัน
1) ประมาททาให้ผู้อื่นได้รับอันตรายเล็กน้อยแก่ร่างกายหรือจิตใจ
3) ประมาททาให้ผู้อื่นได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย (Confidential disclosure)
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร: การปลอมเอกสารและการทาหรือรับรองเอกสารเท็จ
5.1 ความผิดฐานปลอมเอกสาร
5.2 ความผิดฐานทาหรือรับรองเอกสารเท็จ
การทาให้หญิงแท้งลูก (Induced abortion)
6.1 การทาให้ตนเองแท้งลูก
6.2 การทาให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายยินยอม
6.3 การทาให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายไม่ยินยอม
6.4 การพยายามทาให้หญิงแท้งลูก
6.5 การทาให้หญิงแท้งที่ถูกกฎหมาย
ประมวลกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้อง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๓๙ สิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไป
ในคดีความผิดต่อส่วนตัว เมื่อได้ถอนคำร้องทุกข์ ถอนฟ้องหรือยอมความกันโดยถูกต้องตามกฎหมาย
เมื่อคดีเลิกกันตามมาตรา ๓๗
โดยความตายของผู้กระทำผิด
เมื่อมีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้อง
เมื่อมีกฎหมายออกใช้ภายหลังการกระทำผิดยกเลิกความผิดเช่นนั้น
เมื่อคดีขาดอายุความ
เมื่อมีกฎหมายยกเว้นโทษ
มาตรา ๒๔๗ คดีที่จำเลยต้องประหารชีวิต ห้ามมิให้บังคับตามคำพิพากษา จนกว่าจะได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้ว่าด้วยอภัยโทษแล้ว
มาตรา ๒ บุคคลจักต้องรับโทษในทางอาญาต่อเมื่อได้กระทำการอันกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำนั้นบัญญัติเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่ผู้กระทำความผิดนั้น ต้องเป็นโทษที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย
วิวัฒนาการของกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พ.ศ. 2466 การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์อยู่ในความควบคุมของแพทย์ “การบำบัดโรคทางยาและทางผ่าตัด รวมทั้งการผดุงครรภ์ การช่างฟัน การสัตวแพทย์ การปรุงยา การพยาบาล การนวดหรือการรักษา คนเจ็บป่วยไข้โดยประการใดๆ”
พ.ศ. 2472 ตัดสาขาสัตวแพทย์ออก
พ.ศ. 2480 ได้มีการประกาศใช้กฎหมายฉบับใหม่ คือ พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2479แบ่งการประกอบโรคศิลปะออกเป็น 2 แผน
แผนโบราณ หมายถึง การประกอบโรคศิลปะโดยอาศัยความรู้จากตำราหรือการเรียนสืบต่อกันมา
แผนปัจจุบัน หมายถึง การประกอบโรคศิลปะอันได้ศึกษาตามหลักทางวิทยาศาสตร์
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540
คำนิยามการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การกำหนดขอบเขตของการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์ จำนวนกรรมการสภาการพยาบาล การเลือกนายกสภาการพยาบาล
การสอบขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภทุก 5 ปี รวมทั้งปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมและได้เสนอร่างกฎหมายผ่านรัฐสภา