Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่1 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
1.1 วงจรการติดเชื้อ เป็นปฏิกิริยาของร่างกาย ที่เกิดขึ้นเมื่อมีเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
1.1.4 หนทางการแพร่กระจายเชื้อ
1.1.5 ทางเข้าของเชื้อ
1.1.3 ทางออกของเชื้อ
1.1.6 ความไวในการรับเชื้อของบุคคล
1.1.2 แหล่งกักเก็บเชื้อโรค
1.1.1 เชื้อก่อโรค เชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อ
3.เชื้อรา
4.ไวรัส
2.โปรโตซัว
5.พยาธิ
1.แบคทีเรีย ทั้งแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบ
1.4 การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ
1.4.1 การทำลายเชื้อ
2.การต้ม เป็นวิธีการทำลายเชื้อที่ดีที่สุด
3.การใช้สารเคมี
4.การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
2.การล้างมือก่อนทำหัตถการ
3.การเตรียมผิวหนัง
1.การล้างมือธรรมดา
4.การทำแผล
5.การทำความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอดหรือก่อนการตรวจภายใน
6.การสวนล้างช่องคลอดใช้ Cetrimide15%+Chlorhexidine1.5%
เจือจาง 1:100 หรือ Chloroxylenol 1:100 หรือ 1:200
7.การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัดใช้ lodophor10%
1.การล้าง โดยการสวมถุงมือยาง ผ้ากันเปื้อน และแว่นป้องกันตา การจีบของแหลมควรระวังอย่าให้ถูกตำหรือบาดได้
ระดับการทำลายเชื้อ
1.การทำลายเชื้อระดับสูง ทำลายจุลชีพก่อโรคได้ทุกชนิด รวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรีย
2.การทำลายเชื้อระดับกลาง ไม่เกิดอันตรายกับมนุษย์แต่ไม่สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรียได้
3.การทำลายเชื้อระดับต่ำ ไม่สามารถทำลายสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียได้
1.4.2 การทำให้ปราศจากเชื้อ
1.วิธีการทางกายภาพ
1.1 การใช้ความร้อน
การใช้ความร้อนแห้ง
การต้ม
การเผา
การใช้ความร้อนชื้น
1.2 การใช้รังสี
2.วิธีการทางเคมี
2.1 การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas (EO) เป็นวิธีที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
เนื่องจากมีประสิทธิภาพสูง
Formaldehyde ที่มีความเข้มข้น37%
2.2 การใช้ High-level disinfectant
Glutaraldehyde
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
1.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
1.2.5 โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
1.2.6 เพศ
1.2.4 ความร้อนหรือเย็น
1.2.7 กรรมพันธุ์
1.2.3 ความอ่อนเพลีย
1.2.8 อายุ
1.2.2 ภาวะโภชนาการ
1.2.9 การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
1.2.1 ความเครียด
1.2.10 อาชีพ
1.6 กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อโดยยึดหลักAseptic technique หรือเทคนิคปลอดเชื้อ
กระบวนการพยาบาล
3.การวางแผนและให้การพยาบาล
หลัก Standard precautions
หลัก Transmission-Base precautions
4.ประเมินผลการพยาบาล
ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสู่ญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
1.การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ติดตามผลทางห้องปฎิบัติการ
1.5 การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
1.5.1 Standard precautions เป็นการนำหลักการมาใช้ดูแลผู้ป่วยทุกรายที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ไม่ว่าผู้ป่วยจะมีการติดเชื้อหรือไม่
4.ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่มีเปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
5.บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
3.หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
6.ทำความสะอาดและทำลายเชื้อหรือทำให้ปราศจากเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ทุกชิ้นที่ใช้กับผู้ป่วยแล้ว
2.สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
2.1 ถุงมือ
ถุงมือปราศจากเชื้อ ใช้กับวิธีที่จะต้องใช้วิธีการสอดใส่วัตถุเข้าไปในร่างกาย เช่น การสวนปัสสาวะ การผ่าตัด
ถุงมือสะอาด ใช้กับการเจาะเลือด การทำแผล เป็นต้น
2.2 เสื้อคลุม ใช้เมื่อจะสัมผัสกับสิ่งที่มีเชื้อโรค
2.3 ผ้าปิดปากและจมูก ใช้ป้องกันการแพร่เชื้อจากจมูกและปาก
7.หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน
1.ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
1.2 การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อโรค
1.3 การล้างมือก่อนทำหัตถการ
1.1 การล้างมือธรรมดา ล้างมือ7ขั้นตอน
1.4 การใช้Alcohol hand rub ทดแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน
1.5.2 Transmission-Base precautions การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อที่ทำให้เกิดโรคตามทางที่เชื้อออกจากตัวผู้ป่วยและทางที่จะเข้าสู่บุคคล
2.การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางฝอยละออง
อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย : สวมผ้าปิดปาก-จมูกชนิดธรรมดา
การเคลื่อนย้าย : เคลื่อนย้ายเมื่อจำเป็นและให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดธรรมดา
ห้องผู้ป่วย : แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก
3.การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส
อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย : สวมถุงมือทุกครั้งที่เข้าให้การดูแล
การเคลื่อนย้าย : เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเมื่อจำเป็น
ห้องผู้ป่วย : แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก
1.การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย
ผู้ให้การดูแล : สวมผ้าปิดปาก จมูก ชนิด N95
ผู้ป่วย : ใช้ผ้าหรือกระดาษปิดปาก-จมูก เวลาไอ จาม
การเคลื่อนย้าย : เคลื่อนย้ายเมื่อจำเป็นและให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดธรรมดา
ห้องผู้ป่วย : แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
4.การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ ต้องกระทำอย่างถูกต้อง
5.การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน
3.สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่ ต้องไม่เป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค
6.การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
2.แยกผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อยออกจากแหล่งเชื้อโรค
7.การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล
1.กำจัดเชื้อโรค แหล่งของเชื้อโรค
1.3 การติดเชื้อในโรงพยาบาล การติดเชื้ออันเป็นผลจากการที่ผู้ป่วยได้รับเชื้อจุลชีพขณะอยู่ในโรงพยาบาล
1.3.1 องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
2.คน ผู้ที่ติดเชื้อในโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วย
3.สิ่งแวดล้อม เช่น อาคาร สถานที่ เครื่องมือเครื่องใช้ บุคลากรในโรงพยาบาลและญาติที่มาเยี่ยม
1.เชื้อโรค เชื้อโรคส่วนใหญ่เป็นเชื้อประจำถิ่น หรือเชื้อที่พบบนร่างกายผู้ป่วยเอง
1.3.2 การแพร่กระจายเชื้อ
1.การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส
1.1 การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง ระหว่างคนต่อคนเกิดจากมือไปสัมผัสแหล่งเชื้อโรคแล้วมาสัมผัสผู้ป่วย
1.2 การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยอ้อม เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสกับสิ่งของหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีการปนเปื้อนของเชื้อโรค
2.การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง เกิดจากการสัมผัสกับฝอยละอองน้ำมูกน้ำลายที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน
3.การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยการสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
4.การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนำ เป็นการแพร่กระจายเชื้อซึ่งเกิดจากการที่มีเชื้อจุลชีพปนเปื้อนอยู่ในเลือด
5.การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยแมลง หรือสัตว์นำโรค