Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ และการไหลเวียนโลหิต 2, ปีบ นางสาวจุฑามาศ…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจ และการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
คำศัพท์สำคัญ :pencil2:
Hypertension
ความดันโลหิตที่วัดจากสถานพยาบาล
ในผู้ใหญ่อายุ 18 ปีขึ้นไป > 140/90 mmHg
Target organ damage (TOD)
ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง
ตา
หัวใจ
สมอง
ไต
Cardiovascular disease (CVD)
โรคทางระบบหัวใจ และหลอดเลือด
Hypertensive urgency
ความดันโลหิตสูงรุนแรง > 180/120 mmHg
แต่ไม่มีอาการของอวัยวะเป้าหมายถูกทำลาย
ไม่จำเป็นต้องรับการรักษาใน ICU
Hypertensive emergency / Hypertensive crisis
ความดันโลหิตสูง > 180/120 mmHg
ร่วมกับมีการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย
สาเหตุ :pencil2:
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทาให้ความดันโลหิตสูง
ยาคุมกาเนิด
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs)
อาการ และอาการแสดง :pencil2:
อาการทางสมอง (hypertensive encephalopathy)
ปวดศรีษะ
การมองเห็นผิดปกติ
สับสน
คลื่นไส้ อาเจียน
Acute cardiovascular syndromes
Myocardial infarction
Unstable angina
Pulmonary edema
Aortic dissection
การซักประวัติ :pencil2:
โรคประจำตัว
ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
โรคอื่นๆ ที่เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูง
TOD
การตรวจร่างกาย :pencil2:
วัดสัญญาณชีพ
โดยเฉพาะความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้าย และขวา
โรคหลอดเลือดสมอง
แขนขาชา
อ่อนแรงครึ่งซีก
มองเห็นไม่ชัด
ตามัวชั่วขณะ
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
จอประสาทตา
ถ้าพบ Papilledema
ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressure
ตรวจ retina
พบ cotton - wool spots and hemorrhages
Lab
ตรวจ CBC
ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
ตรวจการทำงานของไต
Creatinine
eGFR
ค่าอัลบูมินในปัสสาวะ
12 - lead ECG
Chest X - ray
CT , MRI
การรักษา :pencil2:
ลดความดันโลหิตเฉลี่ย (MAP) ลงจากระดับเดิม 20 - 30% ภายใน 2 ชั่วโมงแรก
160/100 มม.ปรอท ใน 2 - 6 ชั่วโมง
ยาที่ใช้
ออกฤทธิ์เร็ว และหมดฤทธิ์เร็ว
Vasodilator
Adrenergic blocker
Calcium channel blocker
ยาที่มีใช้ในประเทศไทย
sodium nitroprusside
*ให้ทางหยดทางหลอดเลือดดำ ต้องใช้เครื่อง Infusion pump :!:
*ห้ามให้ยาโดนแสง :!:
nitroglycerin
*ผลข้างเคียง : ปวดศีรษะ :!:
ให้ Para
*เก็บให้พ้นแสง :!:
การพยาบาล :pencil2:
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการ และอาการแสดง
neurologic
สับสน
stroke
cardiac
aortic dissection
MI
dysrhythmias
renal systems
kidney failure
ระหว่างได้รับยา
ประเมิน และบันทึกการตอบสนองต่อยา
Pt. โรคหัวใจ ไม่ควรลด SBP ลงมาต่ำกว่า 120 mmHg
ความดันโลหิต DBP ที่เหมาะสม คือ 70 - 79 mmHg
Pt. สมองขาดเลือด
ควรควบคุมความดันโลหิตให้ต่ำกว่า 180/105 mmHg
แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าความดันโลหิตเริ่มต้น
ขณะได้รับยาลดความดันโลหิต
สังเกตอาการ และอาการแสดงของภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงไต
การรักษาด้วย short - acting intravenous antihypertensive agents
sodium nitroprusside
ผสมยาใน D5W และ NSS
*เก็บยาให้พ้นแสง และตลอดการให้ยาแก่ผู้ป่วย :!:
*ให้ยาทาง infusion pump เท่านั้น :!:
หากพบว่ายาเปลี่ยนสีเข้มขึ้น หรือเป็นสีส้ม น้าตาล
Pt. อาจตายได้
ติดตามอาการไม่พึงประสงค์
ความดันโลหิตต่ำอย่างรวดเร็ว
หัวใจเต้นช้า
acidosis
*phlebitis :!:
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
หัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
เกิดจากจุดปล่อยกระแสไฟฟ้า (ectopic focus) ใน atrium ส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่ และไม่สม่ำเสมอ
ลักษณะ ECG
ไม่สามารถบอก P wave ได้ชัดเจน
จังหวะไม่สม่ำเสมอ
QRS complex ไม่เปลี่ยนแปลง
การเต้นของ atrial มากกว่า 350 ครั้ง/นาที
*การเต้นของ ventricle มากกว่า100 ครั้ง/นาที เรียกว่า RVR :!:
สาเหตุ :red_flag:
พบบ่อยในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจรูห์มาติก
หัวใจล้มเหลว
HT
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
hyperthyrodism
การพยาบาล :red_flag:
*ระวัง AF with RVR
ภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญ
เกิดลิ่มเลือด AF
ทำให้เกิด stroke
ทำให้เกิด pulmonary embolus
เป้าหมายในการรักษา
rate control
rhythm control
ให้ยา Anticoagulation ป้องกันการเกิดลิ่มเลือด
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
ให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ใน Pt. ที่มีข้อบ่งชี้ว่ามีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
ทำ Cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
จี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง
ในผู้ป่วยที่เป็น AF
ไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
Ventricular tachycardia (VT)
หัวใจเต้นผิดจังหวะ ที่ ventricle
อัตราที่เร็วมาก แต่สม่ำเสมอ 150 - 250 ครั้ง/นาที
จุดกำเนิดอาจมีตำแหน่งเดียว หรือหลายตำแหน่ง
ลักษณะ ECG
ไม่พบ P wave
ลักษณะ QRS complex มีรูปร่างผิดปกติกว้างมากกว่า 0.12 วินาที
ประเภทของ VT :red_flag:
Nonsustained VT
VT เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VT
VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที
ทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT
VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT
VT ที่ลักษณะของ QRS complex ไม่เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ :red_flag:
พบบ่อยใน Pt. MI
หัวใจรูห์มาติก
ถูกไฟฟ้าดูด
*โพแทสเซียมในเลือดต่ำ :!:
Digitalis toxicity
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการ และอาการแสดง :red_flag:
ใจสั่น
ความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด
เจ็บหน้าอก
หายใจลำบาก
หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล :red_flag:
เกิด VT คลำชีพจรได้ + มีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
ให้เตรียมทำ synchronized cardioversion
เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้
ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator
Ventricular fibrillation (VF)
ลักษณะ ECG
ไม่มี P wave
ไม่เห็นรูปร่างของ QRS complex
ระบุไม่ได้ว่าส่วนไหนเป็น QRS complex
ทำ Defibrillator
การพยาบาล :red_flag:
ทำ CPR ทันที
สิ่งที่สำคัญ คือ
ช็อกไฟฟ้าหัวใจทันที
และการกดหน้าอก
*ป้องกันภาวะ tissue hypoxia :!:
เริ่มให้ O2 เมื่อ SpO2 < 93%
ในผู้ป่วยที่เป็น Stroke หรือ Acute MI รักษาระดับ SpO2
ในผู้ป่วยวิกฤตทั่วไปอยู่ระหว่าง 90 - 94%
ในผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการมีคาร์บอนไดออกไชด์คั่ง อยู่ระหว่าง 88 - 92%
*ติดตาม และบันทึกอาการแสดงของภาวะ Tissue perfusion ลดลง :!:
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ความดันโลหิตลดลง
สีของผิวหนังเขียว
อุณหภูมิของผิวหนังเย็นลง
จำนวนปัสสาวะลดลง
capillary refill time นาน
Heart failure
เกิดจากความผิดปกติของโครงสร้าง หรือการทำงานของหัวใจลดลง ทำงานได้ไม่ดี
ชนิด :<3:
แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
New onset
เกิดขึ้นครั้งแรก แบบ Acute onset หรือ Slow onset
Transient
มีอาการชั่วขณะ เช่น MI
Chronic
มีอาการเรื้อรัง มีอาการ Stable หรืออาการมากขึ้น
แบ่งตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Systolic
ห้องล่างซ้ายบีบตัวไม่ดี
EF < 40%
Diastolic
ห้องล่างซ้ายคลายตัวไม่ดี
EF 40 - 50%
*แบ่งตามอาการ และอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ :!:
Left sided
*Orthopnea :!:
*PND :!:
Right sided
บวม
ตับโต
แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
High - output
ไทรอยด์เป็นพิษ
ขาดวิตามินบี 1
*Low - output :!:
*Acute :!:
Chronic
สาเหตุ :<3:
แต่กำเนิด Ex. ผนังกั้นห้องหัวใจรั่ว
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
MI
อาการ และอาการแสดง :<3:
Left sided
Dyspnea
Lung crepitation
Right sided
บวม
แน่นท้อง ท้องอืด เนื่องจากตับโต Ascites
Jugular vein distention
ตับโต
Pitting edema
Left sided and Right sided
อ่อนเพลีย
Tachycardia
Tachypnea
หัวใจโต
โตข้างไหน ข้างนั้นล้มเหลว
เสียงหัวใจผิดปกติ
Cardiac murmur
การวินิจฉัย :<3:
CXR
EKG
CBC
Renal function
Liver function test
Echocardiography
บอกได้ชัดเจนมาก
แนวทางเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัย และการดูแลรักษาผู้ป่วย :<3:
หาสาเหตุ
*2. ให้ยาขับปัสสาวะ บรรเทาภาวะคั่งน้ำ :!:
ประเมินผู้ป่วยใหม่
เพิ่มขนาดของยา
เปลี่ยนการบริหารยาเป็นแบบ Continuous infusion
เพิ่มยาขับปัสสาวะที่ออกฤทธิ์แตกต่าง
พิจารณาให้ Intravenous inotrope หรือ Vasodilator
เมื่อใช้แนวทางปฏิบัติข้างต้น แล้วไม่ได้ผลให้พิจารณา Ultrafiltration
ชั่งน้ำหนัก บันทึก Intake และ output ทุกเวร
ติดตามค่าการทำงานของไต
*5. พิจารณาให้ Intravenous inotropes :!:
ประเมิน Cardiogenic shock q 1 hr
*6. ไม่แนะนำให้ Intravenous inotrope ใน Pt. Acute heart failure ที่ไม่ทราบสาเหตุ :!:
พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด Sodium nitroprusside หรือ Nitroglycerine ในกรณีที่มี BP สูง/HT , Pulmonary edema
สวนหัวใจ เพื่อวัดความดันโลหิต ตอบสนองต่อการให้ยา/การรักษาหรือไม่
*9. ให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วยที่ SpO2 < 90% หรือ PO2 < 60 mmHg :!:
*10. ไม่แนะนำให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วย Acute heart failure เป็น Routine ทุกราย :!:
บทบาทพยาบาล :<3:
ผู้ป่วยอาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น
ผู้ป่วยไม่มีภาวะน้ำเกิน หรือขาดน้ำ
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหตุ
ผู้ป่วยได้รับการค้นหาสาเหตุ หรือปัจจัยที่ทำให้อาการกำเริบ
การพยาบาล :<3:
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของหัวใจได้ดีขึ้น มีการคั่งของน้ำในร่างกายลดลง ให้ Bed rest
*2. จัดท่านั่งศีรษะสูง :!:
V/S ทุก 1 ชั่วโมง
ฟังเสียงหัวใจ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
Dopamine
ขนาดตํ่า จะช่วยเพิ่มปริมาตรเลือดไปเลี้ยงที่ไตให้มีการขับปัสสาวะเพิ่มขึ้น
ขนาดสูง ทำให้หลอดเลือดหดตัว เพื่อเพิ่มความดันโลหิต
Nitroglycerine
ยากลุ่ม ACE inhibitor
ยาขับปัสสาวะ
Lasix
ชั่งนํ้าหนัก
จำกัดนํ้า
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการ
ควบคุมอาหารที่มีเกลือโซเดียมสูง โดยการจำกัดเกลือไม่เกิน 2 กรัม/วัน
Shock
ภาวะที่เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ ไม่เพียงพอ
ส่งผลให้อวัยวะต่างๆ ล้มเหลว
การแปลผลความดันโลหิต :fire:
Blood pressure สูง/ต่ำ
Pulse pressure กว้างหรือไม่
กว้าง บ่งบอกว่า Stroke volume และ Cardiac output สูง
แคบ บ่งบอกว่า Stroke volume และ Cardiac output ต่ำ
MAP
ปกติอยู่ที่ 65 มม.ปรอท
ประเภทของช็อก :fire:
Low cardiac output shock
หลอดเลือดตีบ
High cardiac output shock
หลอดเลือดขยายตัว
Septic shock
*Supportive treatment :!:
Airway
Breathing
Circulation
ตำแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ำ :fire:
เลือกเส้นเลือดดำที่เป็น Peripheral vein ที่มีขนาดใหญ่
เลือกเส้นเลือดดำที่ใกล้หัวใจ
สารน้ำ
Crystalloids
NSS
Colloids
*การเลือกใช้ Vasoactive drugs ในช็อกประเภทต่างๆ :!:
Hypovolemic shock
ไม่ใช้ Vasoactive drugs
*2. Cardiogenic shock :!:
ความดันโลหิตยังต่ำอยู่ ควรเลือกใช้ Dopamine
หากความดันโลหิตขึ้นแล้ว อาจใช้ Dobutamine
Obstructive shock
พิจารณาใช้ Dopamine
Endocrinologic shock
พิจารณาให้ Norepinephrine
*5. Anaphylactic shock :!:
เลือกให้ Norepinephrine หรือ Adrenaline
Nursing diagnosis :fire:
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีต่ำลงเนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะช็อค
จัดท่านอนศีรษะสูง
ประเมิน V/S
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ 0.9% NSS
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ Ceftriazone (Septic shock)
การได้รับยา Levophed
รั่วซึมออกนอกหลอดเลือดเกิดเนื้อตายได้
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการหายใจลดลง
1) ส่งเสริมการไหลเวียนของเลือด โดยจัดท่านอน และให้ออกซิเจน
ผู้ป่วย และญาติมีสีหน้าวิตกกังวล
1) ให้คำอธิบาย ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับภาวะโรค และแผนการรักษา
มีไข้จากมีการติดเชื้อในกระแสเลือด (Septic shock)
1) ลดไข้ และให้ผู้ป่วยมีความสุขสบาย โดยดูแลเช็ดตัวลดไข้
2) ประเมินภาวะไข้
นางสาวจุฑามาศ ดำแดงดี 6001210781 เลขที่ 39 Sec. A