Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต, นางสาวประภัสสร…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
โรค
Target organ damage (TOD)ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง
Cardiovascular disease (CVD) โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
Hypertensive urgency ภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการของอวัยวะเป้าหมายถูกทำลาย
Hypertensive emergency ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท ร่วมกับมีการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย อาจมีอาการของ Acute MI, Stroke, และ Kidney failure
hypertensive crisis หรือ malignant hypertensionอาจเกิด
ในผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติเป็นความดันโลหิตสูงมาก่อน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ
วิตกกังวล
พร่องความรู้
วินิฉัย
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
ประเมินอาการโรคหลอดเลือดสมอง
ตรวจจอประสาทตา ประเมินภาวะ increased intracranial pressure
ตรวจ retina ถ้ามีcotton-wool spots and hemorrhagesแสดงว่าประสาทตาถูกทำลาย
ประเมินอาการ Chest pain
ประเมินอาการ oliguria or azotemia
** ในรายที่สงสัย Aortic dissection ว่ามีpseudohypotensionหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
CBC
ตรวจการทำงานของไตจากค่า Creatinine และ Glomerular filtration rate (eGFR) และค่าอัลบูมินในปัสสาวะ
12-lead ECG
chest X- ray
การซักประวัติ
ซักประวัติโรคประจำตัว การสูบบุหรี่ ประวัติครอบครัว ความดันสูงขณะตั้งครรภ์และโรคที่ทำให้เกิดความดันโลหิตสูง
ซักการเกิดอาการจากTOD ได้แก่ หลอดเลือดสมอง Headache, blurred vision, change in level of
consciousness, Coma
อาการแบ่งตามระบบ
hypertensive encephalopathy ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
Acute cardiovascular syndromes
Myocardial infarction
Unstable angina
Pulmonary edema
Aortic dissection
การรักษา
ต้องให้การรักษาทันทีใน ICU โดยให้ยาลดความดันเข้าหลอดเลือดดำ mean arterial pressureลงจากระดับเดิม
20-30% ภายใน 2 ชั่วโมงแรก 160/100 มม.ปรอท ใน 2-6 ชั่วโมง
ยาลดความดันโลหิตกลุ่ม
-vasodilator,
-adrenergic blocker,
-calcium channel blocker,
-angiotensin-converting enzyme inhibitor
** ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยที่มีการทำงานของตับและไตบกพร่อง
การพยาบาล
ประเมินการตอบสนองต่อยา ไม่ควรลด SBP < 120 มม.ปรอทDBP = 70-79 มม.ปรอท
1ลดความดันโลหิตลงต่ำกว่า180/105 มม.ปรอทใน 24 ชั่วโมงแรก แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าความดันโลหิตเริ่มต้น
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents ได้แก่ sodium nitroprusside แพททย์จะเริ่มให้ขนาด 0.3-0.5 mcg/kg/min เก็บให้พ้นแสงในทางinfusion pump เท่านั้น
ในระยะเฉียบพลันเฝ้าติดตาามอาการ
Neurologic symptoms ได้แก่ สับสน confusion, stupor, seizures, coma, or stroke.
Cardiac symptoms ได้แก่ aortic dissection, myocardial ischemia, or dysrhythmias.
Acute kidney failure BUN Cr จะมีค่าขึ้นสูง
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษาเพื่อควบคุมความดันโลหิต
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิด
Cardiac dysrhythmias
Ventricular fibrillation (VF)
ventricleเต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่ำเสมอ ลักษณะ ECG จะไม่มี P wave ไม่เห็นรูปร่างของ QRS complex
สาเหตุ
Hypovolemia
Hypoxia
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalemia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
การพยาบาล
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยว่ามียาชนิดใดที่มีผลต่อหัวใจ
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ให้ยา antidysrhythmia
ทำ CPR ร่วมกับทีมรักษาผู้ป่วย
อาการและอาการแสดง
หมดสติไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากความผิดปกติของ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
Atrial fibrillation (AF)
ectopic focus ใน atrium ส่งกระแสไฟฟ้าออกมาถี่และไม่สม่ำเสมอและไม่ประสานกัน ทำให้atrium บีบตัวแบบสั่นพริ้ว
ประเภท
Paroxysmal AF หมายถึง AF ที่หายได้เองภายใน 7
Persistent AF หมายถึง AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วันต้องใช้ยา
Permanent AF หมายถึง AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปี
Recurrent AF หมายถึง AF ที่เกิดซ้ ามากกว่า 1 ครั้ง
Lone AF หมายถึง AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปีที่ไม่มีโรคในระบบหัวใจและหลอดเลือด
สาเหตุ
โรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอการลิ่มเลือดอุดตัน
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษา
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion
Radiofrequency Ablation ในผู้ป่วยที่ไม่
สามารถควบคุมด้วยยาได้
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น
อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
Ventricular tachycardia (VT)
ventricleเต้นเร็วมากแต่สม่ำเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที ลักษณะ ECG ไม่พบ P wave ลักษณะ QRS complex มีรูปร่างผิดปกติกว้างมากกว่า 0.12 วินาที
ประเภท
Monomorphic VT
Polymorphic VT
Sustained VT
Nonsustained VT
สาเหตุ
Myocardial infarction
Rheumatic heart disease
Digitalis toxicity
ถูกไฟฟ้าดูด กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการสวนหัวใจ
การพยาบาล
เตรียมเครื่องDefibrillatorมาที่ผู้ป่วย
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ
ให้ยาร่วมกับแพทย์
synchronized cardioversionในผู้ป่วย VT ที่มีชีพจร
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคล าชีพจรไม่ได้(Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น
ความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด
เจ็บหน้าอก
หายใจลำบาก
หัวใจหยุดเต้น
Heart failure
การวินิจฉัย
Chest X-ray, CXR
ตรวจเพื่อยืนยันภาวะเลือดคั่งในปอด
electrocardiography
สามารถบอกว่ามีความผิดปกติของหัวใจ เช่น หัวใจโต, หัวใจเต้นผิดจังหวะ
การตรวจเลือด
Complete blood count (CBC):เพื่อตรวจหาภาวะซีด
(Renal function): การตรวจ BUN, creatinine
Liver function test: เนื่องจากอาจมีเลือดคั่งในตับ
Echocardiography บอกถึงสาเหตุและความรุนแรงของหัวใจล้มเหลว
แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา
ประเมินสาเหตุและปัจจัยกระตุ้น
ใช้ยาขับปัสสวะชนิดLoop diuretic
พิจารณาการสวนหัวใจเพื่อวัดความดันโลหิต
วามดันซิสโตลิกต่ํากว่า 85 มม.ปรอด
ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา
เพื่อประเมินภาวะ Pulmonary hypertension
ถ้าใช้Loop diureticยังมีปัสสวะคั่งอยู่
เพิ่มขนาดยา
เปลี่ยนเป็นการบริหารยาแบบContinuous infusion
ประเมินผู้ป่วยใหม่
เพิ่มยาขับปัสสาวะที่ออกฤทธิ์แตกต่าง
พิจารณาให้ยากระตุ้นหัวใจทางหลอดเลือดหรือขยายหลอดเลือด
พริจารณาUltrafiltration
ชั่งน้ำหนักวัดIntake และ output
ติดตามBUN, creatinine ซีรั่มโซเดียมและซีรั่มโพแทสเซียมทุกวันอย่างน้อยวันละ 1 ครั้งในผู้ป่วยได้รับ Intravenous loop diuretics
พิจารณาให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจ
Cardiogenic shock
ความดันซิสโตลิกต่ํากว่า 85 มม.ปรอด
มีหลักฐานของ End-organ hypoperfusion
ไม่ตอบสนองต่อยาชนิดLoop diuretic
ควรติดตามความดันโลหิตและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างใกล้ชิด
ไม่แนะนําให้ยาช่วยกระตุ้นหัวใจทุกราย
พิจารณาใช้ยาขยายหลอดเลือด
Sodium nitroprussideไม่ใช้ในผู้ป่วย Acute
myocardial ischemiaหรือผู้ป่วยไต
Nitroglycerineติดตามความดันโลหิต
ให้Tolvaptan (V2-receptor antagonist) ไม่เกิน 1-2 สัปดาห์
ให้ Oxygen supplement
ไม่แนะนําให้ Oxygen supplement ในผู้ป่วย Acute heart failure เป็น Routine ทุกราย
แนะนํา Noninvasive ventilation
พิจารณา Mechanical circulatory support device (MCSD)
ควรยึดแนวทางปฏิบัติและคําแนะนําในการดูและรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
ไม่ควรใช้การสวนหัวใจห้องขวาเพื่อวัดความดัน
อาการและอาการแสดง
อาการ
อาการเหนื่อย (Dyspnea)
เหนื่อยขณะที่ออกแรง
เหนื่อยนอนราบไม่ได้
Paroxysmal nocturnal dyspnea(PND)
Dependent part เช่นเท้า ขา บวมกดบุ๋ม
อ่อนเพลียจากเลือดไปเลื้ยงลดลง
แน่นท้อง ท้องอืดจากHepatic congestion, Ascites
อาการแสดง
Tachycardia และTachypnea
Jugular vein distention
หัวใจโต
ตรวจพบเสียง S3 หรือ S4 gallop หรือ Cardiac murmur
เสียงปอดผิดปกติ เช่น Wheezing
ตับโต (Hepatomegaly)
Pitting edema
บทบาทพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีภาวะน้ําเกินหรือขาดน้ํา
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหตุ
ผู้ป่วยอาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น
ผู้ป่วยได้รับการค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทําให้อาการกําเริบ
สาเหตุ
ความผิดปกติแต่กําเนิด
Valvular heart disease
Myocardial disease
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
coronary artery disease
การพยาบาล
จัดท่าFowler’s position หรือนั่งฟุบบนโต๊ะข้างเตียง
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมงเพิ่มขึ้น และ CO จะลดลง - BP ต่ำบ่งบอกว่า CO น้อย Afterload มาก >>น้ําคั่งในปอดมากขึ้น
ฟังเสียงหัวใจทุก 2-4 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจในการบีบเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ยาดิจิทาลิส (Digitalis)ไม่ให้ในผู้ป่วยชีพจรน้อยกว่า 60 มากกว่า100 ครั้ง หรือเต้นไม่สม่ำเสมอ
ยาโดปามีน (Dopamine)ทํา I/O ทุก 1 ชั่วโมง ประเมินอาการผิดปกติ
ยาไนโตรกลีเซอรีน (Nitroglycerine)ติดตามผลความดันโลหิตถ้าสูงจนปวดศีรษะให้ประคบเย็น
ยากลุ่ม ACE inhibitor ติดตามผลความดันโลหิตทุก1 hr.ติดตามระดับ Creatinine
ยาขับปัสสาวะ เปลี่ยนท่าช้าๆและบันทึกสารน้ําเข้า-ออกในร่างกาย ทุก 1-2 ชั่วโมง
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิมเพื่อประเมินภาวะน้ำเกินโดยถ้า นน.ขึ้น 2 กก.ใน1วันแสดงว่ามีน้ำเกินมา 2 ลิตร ทำให้บวม
จํากัดประมาณ 800-1,000 ซีซี/วันในรายที่อาการไม่รุนแรง
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วย
กระตุ้นให้ระบายความรู้สึก
สอนและแนะนําเทคนิคการผ่อนคลาย
ควรกระตุ้นและส่งเสริมให้ครอบครัว ญาติ หรือบุคคลใกล้ชิดมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
มีการให้ข้อมูลเก่ียวกับการรักษาและการเปลี่ยนแปลงของอาการในทางที่ดี
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการของภาวะหัวใจวายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
สอนให้สังเกตอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นจากภาวะน้ำเกินการใช้ยา โดยชีพรต้องมากกว่า60แต่ไม่เกิน 100ครั้ง/นาที
ยํ้าเน้นถึงความสําคัญของการมาตรวจตามนัดทุกครั้งตามแผนการรักษาของแพทย์จนกว่าจะอาการจะคงที่
ให้ความรู้กับผู้ป่วยและญาติ
การทํากิจกรรมและการออกกําลังกาย การทํากิจกรรมสามารถทําได้ตามปกติและไม่หักหมในช่วง 1-2 สัปดาห์แรก
จำกัดเกลือไม่เกิน 2 กรัม/วัน
นอนอย่างนอนวันละ 8-10 ชั่วโมง
ก่อนจะมีเพสสัมพันธ์ต้องเดินขึ้นลงบันได8-10 ขั้นแบบไม่ให้เหนื่อยก่อน
ชนิด
แบ่งตามการทํางานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Systolic heart failure Left ventricular ejectionfraction (LVEF) ต่ํากว่าร้อยละ 40
Diastolic heart failure LVEF มากกว่าร้อยละ 40-50
แบ่งตามอาการและอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
Left sided-heart failure:ความดันในหัวใจห้องบนซ้ายหรือห้องล่างซ้ายสูงขึ้นทำให้มีปัญหาทำให้เกิดOrthopnea
Right sided-heart failure: Right ventricleและ Right atriumมีปัญหาทำให้เกิดการบวม
แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
New onset:Acute onset
Transient: มีอาการชั่วขณะ
Chronic:มีอาการเรื้อรังและคงที่
แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
High-output heart failure: ร่างกายต้องการ Cardiac output มากกว่าปกติ
Low-output heart failure
Acute heart failure เป็นอาการที่เกิดขึ้นใหม่หรือมีการกำเริบของอาการเดิม
Chronic heart failure เป็นมานานแล้วเป็นอย่างต่องเนื่อง
Shock
การแปลผลความดันโลหิต
ค่าความดันโลหิตเฉลี่ย (Mean arterial pressure, MAP) MAP = 1/3 SBP + 2/3 DBP
High cardiac output shock ไม่สามารถใช้ Systolic
blood pressure 90 มม.ปรอทจึงต้องใช้ MAP ซึ่งต้องให้อยู่ที่ 65 มม. ปรอท
Systolic blood pressure (SBP)เป็นค่าความดันของหลอดเลือดขณะหัวใจบีบตัว
Diastolic blood pressure (DBP)เป็นค่าความดันของหลอดเลือดขณะหัวใจคลายตัว
** ค่าความต่าง Pulse pressure = systolic blood pressure-diastolic blood pressure
pulse pressure สามารถช่วยวินิจฉัยภาวะช็อกได้อย่างรวดเร็ว
Vasoactive drug
Positive chronotropic effect
ทำให้ Heart rate เพิ่มขึ้น
Vasopressor effect
ทำให้ Systemic vascular resistance, (SVR) เพิ่มขึ้น
Positive inotropic effect
ทำให้Cardiac contractility ดีขึ้น
การเลือกใช้
Hypovolemic shock ทั่วไม่ไม่ใช้Vasoactive drug
Cardiogenic shock ความดันโลหิตต่ำควรเลือกใช้ Dopamine ถ้า Systolic BP ต่ํากว่า 70 มม. ปรอท อาจเลือก Norepinephrine
Obstructive shock ควรให้สารน้ําก่อนถ้า Right ventricle บีบไม่ดีให้ใช้ Dopamine หากความดันโลหิตต่ำมาก เช่น Systolic BP ต่ํากว่า 70 มม. ปรอท อาจเลือก Norepinephrine
Septic shock ควรให้สารน้ําก่อนถ้าความดันโลหิตยังต่ำควรเลือก Norepinephrine ส่วนDopamineจะใช้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาCardiac contractility
Endocrinologic shock ควรให้สารน้ําและให้การรักษาทดแทนทางฮอร์โมน หรือให้ยาต้านธัยรอยด์ใน Thyroid stormถ้าไม่ดีขึ้นให้Norepinephrine
Anaphylactic shock เลือก Epinephrine (Adrenaline) ก่อนเสมอ
Neurogenic shock เลือก Dopamine ก่อน
ตําแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ำ
Peripheral vein
Vasoconstriction จะค่อยๆขยายตัว เนื่องจากหลอดเลือดดํามีคุณสมบัติในการรับสารน้ําหรือเลือด
Core temperature เมื่อให้สารน้ําจํานวนมากเข้าทางหัวใจโดยตรงจึงอาจเกิด Cardiac arrhythmia
ทําได้สะดวกกว่าการให้สารน้ำทาง Central venous catheter
การให้สารน้ำ (Fluid therapy)
colloids
Anaphylactic / anaphylactoid reaction
Renal toxicity อาจทําให้เกิด Acute kidney injury
Coagulopathy/platelet dysfunction
Crystalloids
Normal saline
Volume overload เกิดจากการให้สารน้ําที่เร็วจนเกินไป
Hypernatremia เนื่องจาก Saline
Hyperchlorermic metabolic acidosis เนื่องจาก Salineมากเกินเพราะร่างกายต้องการปรับสมดุล
Ringer's lactate solution
Volume overload เกิดจากการให้สารน้ําที่เร็วจนเกินไป
Lactic acidosis โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคตับเนื่องจากตับ เปลี่ยนLactateเป็นHCO3ได้
Hyperkalemia เนื่องจากRLS มี K+ 4 mEq / L
-Hypercalcemia เนื่องจาก RLS มี Ca2+3 mEq/L
Nursing diagnosis
ผู้ป่วยอยู่ในภาวะปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีต่ําลงเนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะช็อค
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Levophed อาจเกิดภาวะยาดังเฉพาะที่หรือรั่วซึมออกนอกหลอดเลือดเกิดเนื้อตายได้
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการหายใจลดลง
ผู้ป่วยและญาติมีสีหน้าวิตกกังวล
มีไข้จากมีการติดเชื้อในกระแสเลือด (Septic shock)
Shock management
Supportive treatment
Breathing:ควรให้ออกซิเจนร่วมด้วยเพื่อเพิ่ม Oxygen delivery
Circulation:พิจารณาการให้สารน้ำหรือ Vasopressors / inotropes
Airway:ควรทําการเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
Specific treatment
Cardiogenic shock
IABP, thrombolytics, PCI,
CABG
Inotropic drugs, vasopressor,(IABP), steroids
Inotropic drugs, vasopressor, (IABP, LVAD)
Inotropic drugs, vasopressor, surgical correction
Cardioversion / defibrillation,
Obstructive shock
(ICD), fluid therapy
Pericardiocentesis, fluid therapy, inotropes /vasopressor
Pericardial window, fluid therapy. inotropes /
vasopressor
Anticoagulant / thrombolytics / pulmonary
embolectomy, fluid therapy,
Hypovolemic shock
Fluid therapy, blood transfusion, endoscopic
or surgical correction
Fluid therapy
Fluid therapy , antibiotic / surgical correction
Distributive shock
Fluid therapy, vasopressors / inotropes,
source control
Epinephrine, fluid therapy, H1 / H2 blocker,
steroids
Hydrocortisone, fluid therapy, vasopressors
Vasopressors, inotropes, fluid therapy,
surgical correction
การแบ่งประเภทของช็อก
Low cardiac output shock (Hypodynamic shock)diastolic blood pressure สูง และ Pulse pressure แคบทําให้เกิด
Hypovolemic shock
Cardiogenic shock
Obstructive shock
High cardiac output shock (Distributive shock, hyperdynamic shock)(Vasodilatation) ส่งผลให้ Diastolic blood pressure ต่ำและ Pulse pressure กว้าง ทำให้เกิด
Septic shock
Anaphylactic shock
Endocrinologic shock
Neurogenic shock
Drug and toxin
อื่นๆ เช่น Post-resuscitation syndrome
นางสาวประภัสสร จุ่มแก้ว 6001210149