Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ Infection Control : IC - Coggle Diagram
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
Infection Control : IC
วงจรการติดเชื้อ
การติดเชื้อ (Infection)
เป็นปฏิกิริยาของร่างกายจะเกิดขึ้นเมื่อเชื้อโรคเข้าร่างกาย
ทำให้ร่างกายผิดปกติและมีการสร้างภูมิคุ้มกัน (Immune response)
Immune response
Infectious disease
มีอาการของโรค
Ianpparent infection
ไม่มีอาการและอาการแสดง
เชื้อก่อโรค
(Infectious agent)
หมายถึง เชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุการติดเชื้อ
แบ่งออกเป็น 5 ชนิด
แบคทีเรีย
แบคทีเรียแกรมบวก (Gram positive)
แบคทีเรียแกรมลบ (Gram negative)
เช่น
Staphylococcus epidermidis
Staphylococcus aureus
Clostridium difficile
โปรโตซัว
เช่น
Entamoeba histolytica
ทำให้เกิดโรคบิด
เชื้อรา
เช่น
Candida albicans
Canduda glabrota
ไวรัส
เช่น
เชื้อหัด
อีสุกอีใส
เริม
ไข้หวัดใหญ่
Corona virus
พยาธิ
เช่น
พยาธิเส้นด้าย
พบมากในเด็ก
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค
(Reservoir)
เป็นที่ให้เชื้อโรคเจริญเติบโตและมีการขยายตัว
อาจเป็นคน สัตว์ พืช ดิน และแมลงต่างๆ
เช่น
คนเป็นแหล่งเชื้อวัณโรค ไข้หวัดใหญ่ หัดได้ดี
ยุงเป็นแหล่งของเชื้อมาลาเรีย
ทางออกของเชื้อ
(Portal of exit)
คือ เชื้อจุลชีพที่ออกจากร่างกาย
ออกทาง
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบสืบพันธุ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
เชื้อที่อยู่บนแผล
จากแม่สู่ลูกในครรภ์โดยทางสะดือ
แมลงกัดหรือดูด
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ
(Mode of transmission)
แบ่งออกได้
การสัมผัส
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนำ
ทางเข้าของเชื้อ
(Portal of entry)
ส่วนมากทางเข้าจะเป็นทางเดียวกับทางออก
พบบ่อย
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีกขาด
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล
(Susceptible host)
เช่น
ขบวนการอักเสบ มีEnzymeที่ชื่อLysozyme ทำลายBacteria
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความเครียด
(Stress)
เช่น คนที่เพิ่งฟื้นจากการผ่าตัดใหม่ ติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนที่สุขภาพเเข็งแรง
ภาวะโภชนาการ
มักพบว่าคนที่ขาดอาหารมักติดโรคต่างๆได้ง่าย
เช่น วัณโรค
ความอ่อนเพลีย
พบว่าคนที่อ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอจะติดเชื้อง่ายกว่า
เช่น คนที่ทำงานหนักเกินไป
ความร้อนหรือเย็น
รับความร้อนหรือเย็นจัดจนไปจะติดเชื้อง่ายขึ้น
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
จะทำให้ความสามารถในการต่อสู้กับเชื้อโรคได้น้อยลง
เพศ
พบว่าโรคบางชนิดพบมากในแต่ละเพศ
เช่น
มักพบว่าเพศชายเป็นโรคปอดบวมมากกว่าเพศหญิง
มักพบว่าเพศหญิงเป็นโรคอีดำอีแดงมากกว่าเพศชาย
กรรมพันธุ์
เช่น
คนที่ขาดสารImmunoglobulin
ซึ่งเป็นสารสำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย
อายุ
เด็กจะติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่
เพราะการสร้างภูมิคุ้มกันในเด็กจะไม่ได้ดีเท่าผู้ใหญ่
ผู้สูงอายุมีภูมิคุ้มกันน้อยมาก
เพราะร่างกายได้รับอาหารไม่พอและมักมีโรคเรื้อรังร่วมด้วย
อาชีพ
บางอาชีพมีโอกาสสัมผัสกับเชื้อง่ายหรือลดประสิทธิภาพของกลไกการป้องกันตัวเอง
เช่น
คนเลี้ยงนกพิราบมีโอกาสติดเชื้อไวรัส H1N1
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
ทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
เช่น
คนที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสี
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
หมายถึง การติดเชื้อที่เป็นผลมาจากการได้รับเชื้อจุลชีพขณะอยู่ในโรงพยาบาล
ตอนรักษาในโรงพยาบาลไม่มีอาการหรืออาการแสดงและไม่รู้ว่าระยะฟักตัวของเชื้อนานเ่าไหร่
ถือว่าติดเชื้อในโรงพยาบาล
อาการแสดงในขณะรักษาตัวในโรงพยาบาลใน 48 ชั่วโมง
อาจเป็นการติดเชื้อในโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการรักษาครั้งก่อน
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องเหมือนกับการติดเชื้อทั่วไป
เชื้อโรค
ส่วนใหญ่เป็นเชื้อประจำถิ่นหรือเชื้อที่พบบนร่างกายผู้ป่วย
โรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่พบมากสุด
เชื้อแบคทีเรียแกรมลบทรงแท่ง
(Gram negative bacilli)
อัตราดื้อยาต่อยาปฎิชีวนะสูง
เพราะเชื้อสัมผัสกับยาต้านจุลชีพมาก่อน
เช่น
2 more items...
สิ่งแวดล้อม
รวมถึง อาคาร สถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้
บุคคลกรในโรงพยาบาล ญาติที่มาเยี่ยม
เครื่องมือแพทย์ที่ใช้ตรวจหรือรักษาโดยการสอดใส่เข้าร่างกาย
มีโอกาสติดเชื้อได้สูง
คน
อาจเป็นบุคลากรในโรงพยาบาล
พบได้มากในผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำ
เช่น
เด็กเล็กจะมีภูมิต้านทานโรคยังพัฒนาไม่เต็มที่
การแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส
(Contact transmission)
หมายถึงการกระจายเชื้อโดยการสัมผัสกับเชื้อก่อโรคกับคนที่ติดเชื้อง่าย
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง
เป็นการแพร่เชื้อโดยการสัมผัสคนสู่อีกคน
เช่น
การทำแผล
การอาบน้ำเช็ดตัวผู้ป่วย
การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง
เกิดจากการสัมผัสกับฝอยละอองน้ำมูลน้ำลาย ขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน ในระยะไม่เกิน 3 ฟุต
เช่น
การตรวจหลอดลม
การดูดเสมหะ
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยการสูดหายใจ
เชื้อที่แพร่กระจายวิธีนี้
เช่น
งูสวัด
เชื้ออีสุกใส
เชื้อวัณโรค
การแพร่กระจายโดยสัตว์พาหนะ
เป็นแพร่เชื้อโดยแมลงหรือสัตว์นำโรค
การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนำ
เป็นการกระจายเชื้อจากการที่เชื้อจุลชีพปนเปื้อนในเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหาร น้ำ ยา สารน้ำ
เช่น
การติดเชื้อSalmonellaจากอาหาร
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ยึดหลักปฏิบัติ Aseptic technique
หรือ เทคนิคปลอดเชื้อ
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกายเกี่ยวกับโรคของผู้ป่วย
การรักษาที่ได้รับ
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น
มีโอกาสระบาดของโรคในชุมชน
การวางแผนและให้การพยาบาล
ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล
ใช้หลัก Airborne precautions
ให้คำแนะนำกับญาติและผู้ป่วยว่าควรปฏิบัติตัวอย่างไรให้ถูกต้อง
รายงานอุบัติการณ์การเฝ้าระวังการเกิดโรคกับคณะกรรมการการติดเชื้อของโรงพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสู้ญาติและ
บุคลากรในหอผู้ป่วย
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อ
(Disinfection)
หมายถึง การกำจัดเชื้อจุลชีพบางชนิดที่แปดเปื้อนผิวหนัง อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้ทางการแพทย์ หรือ พื้นผิวต่างๆ
การล้าง
ต้องระวังไม่ใช้เชื้อเข้าร่างกายได้
การต้ม
ควรต้มเดือดนาน 20 นาที
การใช้สารเคมี
เป็นวิธีการสุดท้ายที่จะใช้
การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
การล้างมือธรรมดา
ใช้สบู่ก้อนหรือสบู่เหลว
การล้างมือก่อนทำหัตถการ
เช่น
การผ่าตัด
การทำคลอด
การเตรียมผิวหนัง
การทำแผล
การทำความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอดหรือก่อนการตรวจภายใน
การสวนล้างช่องคลอด
การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัด
ระดับการทำลายเชื้อ 3 ระดับ
การทำลายเชื้อระดับสูง
ต้องแช่อุปกรณ์ในน้ำยาเป็นระยะเวลานาน
ใช้น้ำยาทำลายเชื้อระดับสูง
Glutaraldehyde
Chlorine dioxide
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
การทำลายเชื้อระดับกลาง
เเช่อุปกรณ์ที่ล้างทำความสะอาดแล้วในน้ำอุณหภูมิ 65-77องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที
ทำให้เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราอ่อนกำลังลง
การทำลายเชื้อระดับต่ำ
การทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราบางชนิด แต่ไม่สามารถทำลายเชื้อที่มีความคงทน
การทำให้ปราศจากเชื้อ
(Sterilization)
หมายถึง กระบวนการในการทำลายหรือขจัดเชื้อจุลชีพทุกชนิดรวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรีย
วิธีการทำให้อุปกรณ์ปราศจากเชื้อ
ทางกายภาพ
การใช้ความร้อน
ง่ายและประสิทธิภาพสูงสุด
การเผา
การใช้ความร้อนแห้ง
การต้ม
ที่ 100 องศา นาน 30 นาที
การใช้ความร้อนชื้อน
เป็นการนึ่งไอน้ำภายใต่ความดัน
มีประสิทธิภาพที่สุด
การใช้รังสี
เป็นการใช้รังสีคลื่นสั้น
ทางเคมี
การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas (EO)
นิยมมาก
Formaldehyde
มีความเข้มข้น 37เปอร์เซ็น หรือเรียกว่า ฟอร์มาลิน
การใช้ High-level disinfectant
Glutaraldehyde
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
standard precautions
คือ การนำแนวปฏิบัติของ Universal precautions และ Body substance isolation
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
มี 4 ประเภท
การล้างมือธรรมดา
การล้างมือวิธีการ 7ขั้นตอน
การล้างมือหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปือนเชื้อโรค
การล้างมือก่อนหัตถการ
เป็นเวลา 2-6 นาที
การใช้ Alcohol hand rub
ใช้ในตอนเร่งด่วน
สวมเครื่องป้องกัน
เมื่อหมดกิจกรรมก็ถอดออก
ถุงมือ
มี 2 ประเภท
ถุงมือปราศจากเชื้อ
ใช้ในการหยิบจับเครื่องมือ
ถุงมือสะอาด
ใช้ในการหยิบจับ สิ่งสกปรก
เสื้อคลุม
ใช้เมื่อจะสัมผัสกับสิ่งที่มีเชื้อโรค
ผ้าปิดปากและจมูก
ใช้ป้องกันการแพร่เชื้อจากคนสู่คนใกล้เคียง
หยิบจับอุปกรณ์อย่างระมัดระวัง
ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่ง
บรรจุผ้าปนเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
ทำความสะอาดและทำลายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการเกิดบากแผล
Transmission-base precautions
คือการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อที่ทำให้เกิดโรคตามทางที่เชื้อออกจากตัวผู้ป่วย
มีวิธีป้องกัน 3 วิธี
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อางอากาศ
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ
ผู้ป่วยโรคเดียวกันอยู่ห้องเดียวกันได้
อากาศในห้องแยกควรถูกดูดออกอย่างน้อย 6 ชั่วโมง
ผู้ี่เข้าห้องผู้ป่วยต้องใช้ผ้าปิดปาก-จมูก N95
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูกน้ำลาย
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ
ผู้ป่วยโรคเดียวกันอยู่ห้องเดียวกันได้
ผู้ี่เข้าห้องผู้ป่วยต้องใช้ผ้าปิดปาก-จมูก
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
จัดระยะห่างกันเตียงละ 3 ฟุต
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส
สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย
ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมน้ำยาฆ่าเชื้อ
สวมเสื้อคลุม
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
กำจัดเชื้อโรค
กำจัดให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้
ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย
สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่ ควรให้สะอาดและแห้ง
การทำลายขยะ
การแยกขยะในโรงพยาบาล
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล