Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวชและนิติจิตเวช, นางสาวอิสรา ภู่มาลี…
บทที่ 7 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวชและนิติจิตเวช
ความหมายและความสำคัญของนิติเวชและนิติจิตเวช
นิตเวช
การนำหลักทางการแพทย์ประยุกต์ใช้ เพื่อคลี่คลายข้อพิพาทและพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ
นิติจิตเวช
การนำหลักจิตเวชประยุกต์เพื่อประโยชน์ในกระบวนการยุติธรรมและความสงบของสังคม
จิตเวช
ความเจ็บป่วยทางจิต ความผิดปกติของอารมณ์และบุคลิกภาพ
การวินิจฉัย และขั้นตอนในการตรวจวินิจฉัยทางนิติจิตเวช
การวินิจฉัยทางนิติจิตเวช
พิจารณาวัตถุประสงค์ว่าส่วนตัวผู้ป่วยมาเพื่อต้องการทราบอะไร
การรวบรวมข้อมูลแบ่งเป็น 2 ส่วน
ส่วนที่เกี่ยวกับคดี
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับความเจ็บป่วยทางจิต
การตรวจทางจิตเวชต้องทำอย่างละเอียดรอบคอบ โดยได้ข้อมูลจากทีมนิติจิตเวช
ขั้นตอนในการตรวจวินิจฉัยทางนิติจิตเวช
3) การรวบรวมข้อมูล
แบ่งเป็น 2 ส่วน
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการก่อคดี โดยซักถามหรือขอข้อมูลจากผู้ใกล้ชิด พฤติกรรมขณะประกอบคดีจากพยานบุคคล
จากพยานเอกสารอื่น ๆ จากทางราชการ
สำเนาคำฟ้องจากอัยการ
พฤติกรรมผู้ป่วยขณะอยู่ในโรงพัก
4) วิเคราะห์ วินิจฉัย
พิจารณาข้อสรุปเพื่อการวินิจฉัยดำเนินการ
2) การตรวจทางจิตเวช
ต้องรีบทำอย่างละเอียด โดยการตรวจสภาพจิต ตรวจร่างกาย ตรวจทางระบบประสาท ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ทดสอบทางจิตวิทยา
5) สรุปผลการวินิจฉัย
การวินิจฉัยทางกฎหมาย(legal diagnosis) ส่งที่ต้องพิจารณา
ขณะตรวจ วิกลจริต และสามารถต่อสู้คดีได้หรือไม่
ขณะประกอบคดี สามารถรู้ผิดชอบ หรือบังคับตนเองได้หรือไม่
ความเห็นหรือข้อเสนอแนะ เช่น ภาวะอันตราย
การวินิจฉัยทางคลินิก(clinical diagnosis) เพื่อการรักษาการพยากรณ์โรค
1) พิจารณาวัตถุประสงค์
คือ ต้องกระจ่างในความมุ่งหมาย ให้พิจารณาจากใบส่งตัว เพื่อที่จะทราบว่าใคร (ตำรวจ ศาล เรือนจำ คุมประพฤติ) นำส่ง
6) การเตรียมตัวให้ปากคำต่อศาล
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวช และนิติจิตเวช
3.1 กฎหมายเกี่ยวกับความผิดทางอาญาของบุคคลวิกลจริต
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 65
“ผู้ใดกระทำความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เพราะมีจิตบกพร่อง โรคจิตหรือจิตฟั่นเฟือน ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสำหรับความผิดนั้น
การพิจารณาความผิดทางอาญา
1) ไม่สามารถรู้ผิดชอบหมายถึงขณะประกอบคดีผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่รู้ว่าการกระทำของตนถูกหรือผิดดีหรือชั่วควรหรือไม่ควร
2) ไม่สามารถบังคับตนเองได้ หมายถึง ขณะประกอบคดี ผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่สามารถห้ามจิตใจ มิให้ร่างกายทำการนั้นได้ อันเกิดจากโรคจิต จิตบกพร่อง หรือจิตฟั่นเฟือน
3.2ความสามารถในการต่อสู้คดี หรือวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายมาตรา 14
การสอบสวนไต่สวนมูลฟ้อง หรือพิจารณาไว้จนกว่าผู้นั้นหายวิกลจริต หรือสามารถต่อสู้คดีได้ และให้มีอำนาจส่งตัว ผู้นั้นไปยังโรงพยาบาล โรคจิตหรือมอบให้แก่ผู้อนุบาล
3.3วิธีการเพื่อความปลอดภัย
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 48
“ถ้าศาลเห็นว่าการปล่อยตัวผู้มีจิตบกพร่อง โรคจิต หรือจิตฟั่นเฟือน ซึ่งไม่ต้องรับโทษ หรือได้รับการลดโทษตามมาตรา 65 จะเป็นการไม่ปลอดภัยแก่ประชาชน ศาลจะสั่งให้ส่งตัวไปควบคุมไว้ในสถานพยาบาลก็ได้ และคำสั่งนี้ศาลจะเพิกถอนเสียเมื่อใดก็ได้”
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 49
“ในกรณีที่ศาลพิพากษาลงโทษ หรือพิพากษามีความผิด แต่รอการกำหนดโทษ หรือรอการลงโทษบุคคลใด ถ้าศาลเห็นว่าเป็นผู้ติดยาเสพติดให้โทษ ศาลจะกำหนดในคำพิพากษาว่า บุคคลนั้นจะต้องไม่เสพย์สุรายาเสพติดให้โทษอย่างใดอย่างหนึ่ง
3.4วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ และการรอการลงโทษ
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 56
ผู้ใดกระทำความผิดซึ่งมีโทษจำคุกไม่เกินสองปี ถ้าไม่ปรากฏว่าผู้นั้นได้รับโทษจำคุกมาก่อน หรือปรากฏว่าได้รับโทษจำคุกมาก่อน ผู้นั้น หรือสภาพความผิดหรือเหตุอื่นอันควรปราณีแล้วเห็นเป็นการสมควร
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 57
“เมื่อความปรากฏแก่ศาลหรือความตามคำแถลงของพนักงานอัยการหรือเจ้าหนักงานว่า ผู้กระทำความผิด ไม่ปฏิบัติตาม แต่ถ้าในเวลาที่ศาลได้กำหนดตามมาตรา 56 ศาลอาญาตักเตือนผู้กระทำความผิด
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 58
“ถ้าภายในเวลาที่ศาลกำหนดตามมาตรา 56 ผู้ที่ถูกศาลพิพากษาให้กระทำความผิด อันมิใช่ความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ และศาลพิพากษาให้ลงโทษจำคุกสำหรับความผิดนั้นจากการที่ถูกกำหนดโทษหรือถูกลงโทษในคดีนั้น แล้วแต่กรณี
3.5 ความรับผิดชอบในทางอาญา
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 66
“ความมึนเมาเพราะเสพย์สุรา หรือสิ่งเมาอย่างอื่น จะยกขึ้นเป็นข้อแก้ตัวตามมาตรา 65 ถ้าผู้นั้นยังสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้าง หรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง ศาลจะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้”
3.6 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 246
“ศาลมีอำนาจสั่งให้ทุเลาการบังคับให้จำคุกไว้ก่อน จนกว่าเหตุอันสมควรทุเลาจะหมดไปในกรณีต่อไปนี้
3.7 ความหมายเกี่ยวกับผู้ดูแล
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 373
“ผู้ใดควบคุมดูแลบุคคลวิกลจริต ปล่อยปละละเลยให้บุคคลวิกลจริตนั้น อาจเที่ยวตามลาพังต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท”
3.8 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ป.พ.พ. มาตรา 29
“บุคคลวิกลจริตผู้ใด ถ้าภริยาสามีก็ดี ผู้บุพการีกล่าวคือ บิดา มารดา ปู่ย่า ตายาย ทวดก็ดี ผู้สืบสันดานกล่าวคือ ลูกหลาน เหลน ลื้อก็ดี ผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ก็ดี หรือพนักงานอัยการก็ดี ร้องขอต่อศาลแล้วศาลจะสั่งให้บุคคลผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถก็ได้ คำสั่งอันนี้ให้โฆษณาในราชกิจจานุเบกษา”
ป.พ.พ. มาตรา 30
“บุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถนั้น ท่านว่าต้องจัดให้อยู่ในความอนุบาล”
ป.พ.พ. มาตรา 429
“บุคคลใดแม้ไร้ความสามารถเพราะเหตุเป็นผู้เยาว์หรือวิกลจริตก็ต้องรับผิดในผลที่ตนละเมิดบิดา มารดา หรือผู้อนุบาลเช่นว่านี้ ย่อมต้องรับผิดชอบร่วมกับเขาด้วย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควร แก่หน้าที่ดูแลซึ่งทำอยู่นั้น”
ป.พ.พ. มาตรา 430
“ครูบาอาจารย์ นายจ้างหรือบุคคลอื่นซึ่งรับดูแลบุคคลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์ก็ดี ชั่วครั้งชั่วคราวก็ดี จาต้องรับผิดร่วมกับผู้ไร้ความสามารถในการละเมิดซึ่งเขาได้กระทำลงในระหว่างที่อยู่ในความดูแลของตน ถ้าหากพิสูจน์ได้ว่าบุคคลนั้น ๆ มิได้ระมัดระวังตามสมควร”
ป.พ.พ. มาตรา 31
“การใด ๆ อันบุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้ทำลงไปการนั้นท่านว่าเป็นโมฆียะ”
ป.พ.พ. มาตรา 32
“การใด ๆ อันบุคคลวิกลจริตได้ทำลง แต่หากบุคคลนั้นศาลยังมิได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถไซร้ ท่านว่าการนั้นจะเป็นโมฆียะ ต่อเมื่อพิสูจน์ได้ว่าได้ทำลงในเวลาซึ่งบุคคลนั้นวิกลจริตอยู่ และคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้รู้แล้วด้วยว่าผู้ทำเป็นคนวิกลจริต”
4.กระบวนการเกี่ยวกับนิติจิตเวช
บุคคลที่สงสัยว่าวิกลจริต หรือมีปัญหาสุขภาพจิตขณะประกอบคดี
ถูกจับดำเนินคดี
ปล่อยตัวถ้าพิสูจน์ได้ว่าไม่ได้กระทำความคิด
มีหลักฐานว่ากระดำความผิด
งดสอบสวนหรือพิจารณาคดี
ตรวจวินิจตาม มาตรา 14
รักษาตามขั้นตอน
อาการทางจิตทุเลา
อาการทางไม่จิตทุเลา
อาการทางจิตทุเลา
ส่งกลับผู้นำส่งกระบวนการยุติธรรม
ลดโทษ/ปล่อยตัว (ตามมาตรา 65)/ ส่งกลับมารักษาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 48
แจ้งผลการรักษาเป็นระยะ
5.บทบาทของพยาบาลกับงานนิติจิตเวช
บทบาทของพยาบาลกับงานนิติจิตเวช
ใช้การสังเกต และการบันทึกอาการของผู้ป่วยอย่างละเอียด และเป็นระยะๆ
เก็บข้อมูลของผู้ป่วยเป็นความลับ เว้นแต่เป็นเรื่องทางกฎหมาย
ในกรณีที่บริษัทประกันร้องขอข้อมูลของผู้ป่วย พยาบาลต้องแจ้งให้แพทย์เจ้าของไข้ทราบ
ในกรณีผู้ป่วยจิตเวช พยาบาลควรแจ้งให้แพทย์ทราบเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วยที่อาจก่อนให้เกิดอันตราย ในอนาคต
บทบาทของพยาบาลกับการชันสูตรพลิกศพ
พยาบาลมีบทบาทที่ในการบาบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตใจ ติดตามผลการรักษาผู้ป่วย นิติจิตเวช ประสานงานกับทีมนิติจิตเวช และพิทักษ์สิทธิ์ของผู้ป่วยโดยแหล่งนาส่งผู้ป่วยนิติจิตเวช อาจเป็นญาติ ตำรวจ หน่วยงานราชการ ทนายหรือศาล
นางสาวอิสรา ภู่มาลี รุ่น 36/2 เลขที่ 65 รหัสนักศึกษา 612001146