Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
เชื้อก่อโรค เชื้อจุลินทรียืที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อ
เชื้อแบคทีเรีย
ไวรัส
เชื้อรา
พยาธิ
โปรโตซัว
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค
แหล่งเชื้อโรคอาจเป็คน สัตว์ พืช ดิน แมลงต่างๆ
ทางออกของเชื้อ
น้ำมูก
ลมหายใจ
ทางระบบสืบพันธุ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
มารดาสู่ทารกโดยผ่านทางสายสะดือ
หนทางแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนำ
การหายใจ
สัมผัส
ทางเข้าของเชื้อ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ทางเดินหายใจ
ผิวหนังที่ฉีกขาด
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล
ขึ้นอยู่กับลักษณะของเชื้อจุลชีพ ธรรมชาติของเนื้อเยื่อที่รับเชื้อ สุขภาพทั่วไปของแต่ละบุคคล
ปัจจัยที่มีอืทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความเครียด
มีความไวต่อการติดเชื้อได้ง่าย
ภาวะด้านโภชนาการ
คนที่ได้รับสารอาหารครบถ้วนความไวต่อการติดเชื้อน้อย
คนที่ขาดอาหาร ติดเชื้อได้ง่าย
ความอ่อนเพลีย
การได้รับความร้อนหรือเย็นจัดเกินไป
เย็นจัด ลดการเคลื่อนไหวของขนอ่อนในระบบทางเดินหายใจ
ลดจำนวนเลือดที่ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อพื้นผิว
โรคภูิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
เพศ
กรรมพันธุ์
อายุ
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้ออันเป็นผลจากการที่ผู้ป่วยดเรับเชื้อจุลชีพขณะอยู่ในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรค
เชื้อประจำถิ่น/เชื้อที่พบบนตัวผู้ป่วยเอง
เชื้อแบคทีเรียแกรมลบ เป็นเชื้อดื้อยา
คน
ความแข็งแรง/ภูมิต้านทานโรค
ภาวะทุพโภชนาการ
ผ่าตัด
ภูมิต้านทานต่ำ
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อที่มีชีวิต
สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต
การแพร่กระจายเชื้อ
แพร่กระจายโดยการสัมผัส
การแพร่กระจายโดยการสัมผัสโดยตรง
เกิดจากการที่มือไปสัมผัสแหล่งโรคแล้วสัมผัสผู้ป่วย
สัผัสกันโดยตรงคนต่อคน
การแพร่กระจายโดยการสัมผัสโดยอ้อม
สัมผัสกับสิ่งของหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อก่อโรค
แพร่กระจายโดยฝอยละออง
เกิดจากการสัมผัสฝอยละอองน้ำมูกน้ำลายที่มีขนาดใหญ่กว่า5ไมครอน
การแพร่กระจายเชืื้อทางอากาศ
เป็นการแพร่กระจายโดยการสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ทางเดินหายใจ
แพร่กระจายโดยผ่านสื่อนำ
เกิดจากการที่เชื้อจุลชีพปนเปื้อนอยู่ในเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหาร น้ำ ยา สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำแก่ผู้ป่วย
แพร่กระจายโดยสัตว์พาหนะ
การถูกแมลงหรือสัตว์กัด
การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อ
วิธีทางกายภาพ
สารเคมี
น้ำยาทำลายเชื้อ(Disinfectants)
Antiseptics
การล้าง
การต้ม
ต้มเดือดนาน20นาที
การใช้สารเคมี
การใช้น้ำยาฆ่าเชืื้อ
การล้างมือธรรมดา ใช้สบู่ก้อนหรือสบู่เหลว
การล้างมือก่อนทำหัตถการ ให้แปรงมือและแขนถึงข้อศอกให้ทั่วทุกซอกทุกมุม
การเตรียมผิวหนัง
เพื่อการฉีดยาใช้Alcohol70%
ผ่าตัดเล็กใช้ Alcohol70%
ผ่าตัดใหญ่ฟอกด้วย Chlorhexidine 4%
การทำแผล ล้างแผลให้สะอาดด้วย Steriled normal saline
การทำสะอาดฝีเย็บก่อนคลอดหรือก่อนตรวจภายใน ใช้ Cetrimide15%
การาสวนล้างช่องคลอดก่อนผ่าตัดใช้ lodophor10%
ระดับการทำลาย
การทำลายระดับสูง
น้ำยาทำลายเชื้อระดับสูงได้แก่ Glutaraldehyde Chlorine dioxide Hydrogen peroxide และ Peracetic acid
สามาถทำลายเชื้อจุลชีพได้ทุกชนิด
การทำลายเชื้อระดับกลาง
ทำให้เชื้อMycobacterium tuberculosis เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อราอ่อนกำลังลงจนไม่สามารถก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์
ไม่สามารถทำลายสนปอร์ของเชื้อแบคทีเรียได้
การทำลายเชื้อระดับต่ำ
สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อราบางชนิด แต่ไม่สามาถทำลายเชื้อที่มีความคงทน ไม่สามารถทำลายสปอร์ได้
การทำให้ปราศจากเชื้อ
วิธีทางกายภาพ
การใช้ความร้อน
การใช้ควาร้อนแห้ง
ใช้อุณภูมิสูง 160-180องศาเซลเซียส นาน1-2ชั่วโมง
การต้ม
ต้มในน้ำเดือด 100องศาเซลเซียส นาน30นาที
การเผา
การใช้ความร้อนชื้น
การนึ่งไอน้ำภายใต้ความดัน เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
การใช้รังสี
รังสีเอกซ์
รังสีแกรมมา
วิธีการทางเคมี
การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas (EO) เป็นวิธีที่นิยมมากในปัจจุบัน มีประสิทธิภาพสูง
Formaldehyde ความเข้มข้น37% ทำลายเชื้อจุลชีพอย่างกว้างขวาง
การใช้ Hight-level disinfectant
Glutaraldehyde
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ การป้องกันเพือไม่ให้เชื้อจุลชีพแพร่ปสู่ผู้ป่วยอื่น
Sandard precautuons
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
เปิดน้ำให้ราดมือทั้งสองข้าง ฟอกสบู่ให้ทั่วมือ หันฝ่ามือถูฝ่ามือ
ฝ่ามือถูหลังมือ กางนิ้วเพื่อถูง่ามมือ
ฝ่ามือถูฝามือ กางนิ้วมือ เพื่อถูง่ามมือ
มือสองข้างจับล็อคกัน ให้ฝ่ามืออีกข้างถูหลังนิ้วมือและนิ้วมือถูนิ้วมือ
ฟอกหัวแม่มือโดยรอบ ด้วยฝ่ามือ
ใช้ปลายนิ้วมือถูฝ่ามือทำสลับกันทั้ง2ข้าง
ถูรอบข้อมือทั้งสองข้าง
สวมเครื่องป้องกัน
สวมถุงมือ
สวมเสื้อคลุมหรือผูกผ้ากันเปื้อน
ใช้ผ้าปิดจมูก ปิดปาก แว่นตาป้องกัน
หยิบจับอุปกรณ์มีคมด้วยความระมัดระวัง
ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่ปนเปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
ทำควาสะอาดและทำลายเชื้อ หรือทำให้ปราศจากเชื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์ทุกชิ้นที่ใช้กับผู้ป่วย
หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน
Transmission- based precautions
การป้องกันการอพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ
ผู้ป่วยโรคเดียวกันอยู่ในห้องเดียวกัน
อากาศภายในห้องควรถูกดูดออกโดยตรงหรือผ่านเครื่องกรอง
คนที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยควรมส่ผ้าปิดปาก-จมูก
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูก
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องพิเศษ
ผู้ป่วยโรคเดียวกันอยู่ฝนห้องเดียวกัน
หากไม่มีห้องแยก ควรจัดเตียงให้ห่างกัน 3 ฟุต
คนที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยควรมส่ผ้าปิดปาก-จมูก
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
*การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส
สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย
ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมน้ำยาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
สวมเสื้อคลุม หากคาดว่าจะสัมผัสเลือด
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ควรแยกอุปกรณ์ชนิด Non-critical items สำหรับผู้ป่วยโดยเฉพาะ
กำจัดเชื้อโรค แหล่งของเชื้อโรค
แยกผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย
สิ่งแวดล้อม อาคาร และสถานที่
การทำลายขยะ
เลือด น้ำหนองสามารถเทลงโถส้วมได้
กระดาษ ผ้าต่างๆ ทำลายแบบธรรมดาได้
เข็ม มีด ทำลายโดยautoclave ก่อนทิ้ง
การแยกขยะ
ขยะติดเชื้อใส่ถุงสีแดง
ของมีคมใส่ถุงที่ไม่ทะลุ
ขยะทั่วไป แยกเป็นขยะแห้งขยะเปียกใส่ถุงสีดำ
ขยะพิษ ส่งให้บริษัทที่รับกำจัดโดยเฉพาะ
ขยะนำกลับไปใช้ใหม่ใส่ถุงสีขาว
การทำลายเชื้อต้องทำอย่างถูกต้อง
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายอย่างแน่นอน
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงบาล
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย
การตรวจร่างกาย
การได้รับการรักษา
ซักประวัติ
ติดตามผลจากห้องปฏิบัติการ
การวินิจทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
มีโอกาสเกิดการระบาดของโรคในชุมชน
การวางแผนและการให้การพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาลเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาล
ใช้หลัก Airborne precautions
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วย
รายงานอุบัติการณ์การเฝ้าระวังการเกิดโรค
การประเมินผลการพยาบาล
ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสู่ญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย