Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
1.1 วงจรการติดเชื้อ
เชื้อก่อโรค
แบคทีเรีย
โปรโตซัว
เชื้อรา
ไวรัส
พยาธิ
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค
ทางออกของเชื้อ
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ
ทางเข้าของเชื้อ
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีกขาด
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล
1.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงการติดเชื้อ
ความเครียด
ภาวะโภชนาการ
ความอ่อนเพลีย
ความร้อน / ความเย็น
โรคภูมิแพ้
โรคภูมิแพ้ / โรงเรื้อรัง
เพศ
กรรมพันธุ์
อายุ
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
อาชีพ
1.3 การติดเชื้อในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรค
คน
สิ่งแวดล้อม
การแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยอ้อม
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนำ
การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ
1.4 การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อ
การล้าง
การต้ม
การใช้สารเคมี
การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
ระดับการทำลายเชื้อ
การทำลายเชื้อระดับกลาง
การทำลายเชื้อระดับต่ำ
การทำลายเชื้อระดับสูง
การทำให้ปราศจากเชื้อโรค
วิธีการทางกายภาพ
การใช้ความร้อน
การเผา
การใช้ความร้อนแห้ง
การต้ม
การใช้ความร้อนชื้น
การใช้รังสี
วิธีการทางเคมี
การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas
Formaldehyde
การใช้ High-level disinfectant
1.5 การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
Standard precautions
การปฏิบัติตามหลัก Standard precautions
การล้างมือแบบธรรมดา
1 เปิดน้ำให้ราดมือทั้งสองข้าง ฟอกด้วยสบู่ให้ทั่วมือ โดยหันฝ่ามือถูฝ่ามือ
2 ฝ่ามือถูหลังมือและกางนิ้วมือ เพื่อถูง่ามนิ้วมือ
3 ฝ่ามือถูฝ่ามือและกางนิ้วมือ เพื่อถูง่ามนิ้วมือ
4 มือสองข้างจับล็อคกัน ให้ฝ่ามืออีกข้างถูหลังนิ้วมือและนิ้วมือถูนิ้วมือ
5 ฟอกหัวแม่มือโดยรอบ ด้วยฝ่ามือ
6 ใช้ปลายนิ้วมือถูฝ่ามือทำสลับกันทั้ง 2 ข้าง
7 ถูรอบข้อมือทั้ง 2 ข้าง
การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อโรค
การล้างมือก่อนทำหัตถการ
การใช้ Alcohol hand rub
การสวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
ถุงมือ
เสื้อคลุม
ผ้าปิดจมูกและปาก
ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและสัมผัสกับสารคัดหลั่ง
ทำความสะอาดละทำลายเชื้อ หรือทำให้ปราศจากเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ทุกชิ้นที่ใช้กับผู้ป่วยแล้ว
หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน โดยเฉพาะเข็มที่ใช้กับผู้ป่วยตำ
Transmission-base precautions
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
อากาศในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรงหรือผ่านเครื่องเครื่องที่มีประสิทธิภาพ และมีการหมุนเวียนอากาศ 6 รอบ/ชั่วโมง
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ในกรณีความจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้องให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดใช้แล้วทิ้ง
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูกน้ำลาย
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก และปิดประตูทุกครั้งที่เข้า-ออก
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน อยู่ในห้องเดียวกันได้
หากไม่มีห้องแยก ควรจัดระยะห่างระหว่างเตียง อย่างน้อย 3 ฟุต
ผู้ดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก และให้การดูแลผู้ป่วยในระยะ 3 ฟุต
จำกัดการเคลื่ิอนย้ายผู้ป่วย หากจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายต้องให้ผู้ป่วยสวมผ้าปิดปาก-จมูก แบบใช้แล้วทิ้ง
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส
สวมถุงมือทุกครั้งเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย และเปลี่ยนถุงมือคู่ใหม่เมื่อสัมผัสสิ่งคัดหลั่ง
ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมน้ำยาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
สวมเสื้อคลุม หากคาดว่าอาจสัมผัสเลือด สารคัดหลั่ง หนอง อุจจาระของผู้ป่วย
จำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจำเป็นต้องเคลื่อนย้าย ต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อในสิ่งแวดล้อม
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
กำจัดเชื้อโรค
ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย ควรแยกจากแหล่งของเชื้อโรค
สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่ ควรสะอาดและแห้ง
การทำลาย และแยกขยะในโรงพยาบาล
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อต้องกระทำอย่างถูกต้อง
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องแะลแน่นอน
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
1.6 กระบวนการพยาบาลในการป้งกันและควบคุมการติดเชื้อ
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย
การวินิจฉัยความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย
การวางแผนและการให้การพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล