Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
การติดเชื้อ(Infection)
เป็นปฎิกิริยาของร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อเชื้อโรคเข้าสู้ร่างกาย
Inapparent infection
ไม่มีอาการและอาการแสดงของโรค
Infectious disease
มีอาการของโรคปรากฏให้เห็น
การติดเชื้อจะเกิดขึ้นได้ต้องมีองค์ประกอบต่าง ๆ
เชื้อก่อโรค(Infectious agent)
สาเหตุ
เชื้อจุลินทรีย์
ขึ้นอยู่กับ
ความสามารถของเชื้อในการเพิ่มจำนวนและเจริญเติบโต (Virulence)
ความสามารถในการรุกรานเข้าสู่เนื้อเยื่อของร่างกาย (Invasiveness)
ความสามารถในการก่อโรค (Pathogenicity)
เชื้อก่อโรคแบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด
แบคทีเรีย
แบคทีเรียทั้งกรัมบวก (Gram positive) และกรัมลบ (Gram negative)
Staphylococcus epidermidis
Staphylococcus aureus
Clostridium difficile
โปรโตซัว
Entamoeba histolytica ทำให้เกิดโรคบิด
เชื้อรา
Candida albicans
Canduda glabrata
ไวรัส
เชื้อหัด
อีสุกอีใส
เริม
ไข้หวัดใหญ่
Corona virus
พยาธิ
พยาธิเส้นด้าย (พบมากในเด็ก)
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค(Reservoir)
แหล่งของเชื้อโรคเป็นที่ให้เชื้อโรคเจริญเติบโตและมีการขยายตัว
เชื้อโรคแต่ละชนิดจะเจริญเติบโตได้ดีในแหล่งเชื้อโรคเฉพาะ
แหล่งเชื้อโรค
คน
สัตว์
พืช
ดิน
แมลง
เหา
เห็บ
หมัด
ทางออกของเชื้อ(Portal of exit)
เชื้อจุลชีพออกจากร่างกายของคนซึ่งเป็นโรคได้หลายทาง
ระบบทางเดินหายใจ
โดยเชื้อออกมาพร้อมน้ำมูก ลมหายใจ
ระบบสืบพันธุ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
เชื้อที่อยู่บนแผลที่ผิวหนัง
เชื้อจากมารดาสู่ทารกในครรภ์โดยผ่านทางสายสะดือ
โรคบางชนิดที่เชื้อโรคออกจากร่างกายผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อจากการที่แมลงกัดและดูดเลือดไปกัดผู้อื่น
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ(Mode of transmission)
เชื้อแพร่กระจายจากผู้ติดเชื้อหรือผู้ป่วยไปสู่ผู้อื่นได้หลายทาง
วิธีการแพร่กระจายที่แตกต่างกันซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น
การสัมผัส
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนำ
ทางเข้าของเชื้อ(Portal of entry)
เชื้อโรคออกจากแหล่งเชื้อโรคแล้วจะทำให้เกิดโรคได้ โดยการหาทางเข้าไปในร่างกายมนุษย์ใหม่
ทางเดียวกับที่ออกมา ที่พบบ่อยๆ
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีดขาด
ความไวของบุคคลในการรับเชื้อ
ภายหลังที่เชื้อจุลชีพเข้าไปในร่างกายและจะทำให้บุคคลติดเชื้อง่ายหรือยากขึ้นอยู่กับลักษณะของเชื้อจุลชีพ ธรรมชาติของเนื้อเยื่อที่รับเชื้อ สุขภาพทั่วไปของแต่ละบุคคล ภูมิคุ้มกันโรค
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความเครียด (Stress)
บุคคลมีความเครียดเกิดขึ้น จะมีความไวต่อการติดเชื้อได้ง่ายกว่า
ภาวะโภชนาการ
บุคคลที่ได้รับอาหารครบถ้วนความไวต่อการติดเชื้อจะน้อยกว่าคนที่ขาดอาหาร
ความอ่อนเพลีย
คนที่อ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอจะติดเชื้อง่ายกว่า มีความต้านทานต่อเชื้อโรคน้อยกว่า
ความร้อนหรือเย็น
คนที่ได้รับความร้อนหรือเย็นจัดจนเกินไปมีความไวต่อการติดเชื้อมากกว่า
เนื่องจากร่างกายต้องปรับตัวต่อความร้อนหรือความเย็นมาก
เป็นกลไกการป้องกันตัวตามธรรมชาติ
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
คนที่มีอาการแพ้ต่าง ๆ หรือมีโรคเรื้อรัง มีความต้านทานต่ำกว่าคนปกติ
เพศ
โรคบางชนิดพบมากในแต่ละเพศไม่เท่ากัน
อายุ
ในเด็กมีความไวต่อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่
คนสูงอายุมีภูมิต้านทานน้อยกว่า
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
คนที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสี มีการทำลายเนื้อเยื่อบริเวณนั้น ลดการสร้างเม็ดเลือดขาวและแอนติบอดี ทำให้ง่ายต่อการติดเชื้อ
คนที่ได้รับยาที่กดการสร้างภูมิคุ้มกัน
อาชีพ
บางอาชีพมีโอกาสที่จะสัมผัสกับเชื้อได้ง่าย หรือลดประสิทธิภาพของกลไกการป้องกันตนเอง
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้ออันเป็นผลจากการที่ผู้ป่วยได้รับเชื้อจุลชีพขณะอยู่ในโรงพยาบาล ซึ่งเชื้อจุลชีพ อาจเป็นเชื้อที่มีอยู่ในตัวผู้ป่วยเอง(Endogenous organism) หรือเป็นเชื้อจากภายนอกร่างกายผู้ป่วย (Exogenous organism)
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรค (Agent)
ส่วนใหญ่เป็นเชื้อประจำถิ่น หรือเชื้อที่พบบนร่างกายผู้ป่วยเอง (Normal
flora หรือ Colonization)
พบมากที่สุด
เชื้อแบคทีเรียกรัมลบทรงแท่ง (Gram negative bacilli)
เชื้อที่เคยสัมผัสกับยาต้านจุลชีพมาก่อน
เชื้อ MRSA
Pseudomonas aeruginosa
คน (Host)
ความแข็งแรงหรือภูมิต้านทานโรคเป็นปัจจัยสำคัญ
โรคติดเชื้อในโรงพยาบาลจะพบได้มากในผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำ
สิ่งแวดล้อม (Environment)
สิ่งแวดล้อมผู้ป่วยในโรงพยาบาลครอบคลุมถึง อาคาร สถานที่ เครื่องมือ
เครื่องใช้ บุคลากรในโรงพยาบาล และญาติที่มาเยี่ยม
การแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส (Contact transmission)
การแพร่กระจายเชื้อด้วยวิธีการสัมผัสระหว่างเชื้อก่อโรคกับบุคคลที่ไวต่อการติดเชื้อ
เชื้อจุลชีพแพร่กระจายจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง ได้ 2 วิธี
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง (Direct–contact transmission)
เป็นการแพร่กระจายเชื้อที่มีการสัมผัสกันโดยตรงระหว่างคนต่อคน
เกิดจากการที่มือไปสัมผัสแหล่งโรคแล้วสัมผัสผู้ป่วย
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยอ้อม (Indirect–contact transmission)
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสกับสิ่งของหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อก่อโรค
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง (Droplet spread)
เกิดจากการสัมผัสกับฝอยละอองน้ำมูกน้ำลายที่มีขนาดให ญ่ก ว่า 5 ไมครอน มักเกิดขึ้นในระยะไม่เกิน 3 ฟุต
โดยฝอยละอองอาจเกิดขึ้นขณะที่ผู้ป่วย ไอ จาม พูด และร้องเพลง รวมทั้งการให้กิจกรรมการรักษาพยาบาล
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne transmission)
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยการสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
เชื้อจุลชีพจะอยู่ในรูปของ Droplet nuclei หรือฝุ่นล่องลอยอยู่ในอากาศ
การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ (Vector-Borne transmission)
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยแมลง หรือสัตว์นำโรค
คนได้รับเชื้อจากการถูกแมลงหรือสัตว์กัด และเชื้อที่มีอยู่ในตัว
แมลงถูกถ่ายทอดสู่คน
การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อ (Disinfection)
การกำจัดเชื้อจุลชีพบางชนิดที่แปดเปื้อนผิวหนัง อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้ทางการแพทย์ หรือพื้นผิวต่างๆ โดยใช้สารเคมี หรือใช้วิธีการทางกายภาพ
ปัจจัย
ชนิดและจำนวนจุลชีพที่แปดเปื้อนอุปกรณ์
เลือด
หนอง
อุจจาระ
วิธีการทำลายเชื้อ
การล้าง
ผู้ล้างต้องระมัดระวังมิให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ โดยการสวมถุงมือยาง ผ้ากันเปื้อน และแว่นป้องกันตา การจับของแหลมคมต้องระมัดระวังอย่าให้ถูกตำหรือบาดได้
การต้ม
ทำลายเชื้อที่ดีที่สุด ทำง่าย ประหยัด และมีประสิทธิภาพดี
วิธีการต้มโดยทั่วไปแนะนำต้มเดือดนาน 20 นาที
การใช้สารเคมี
เป็นวิธีการสุดท้ายที่จะใช้ถ้าไม่มีวิธีอื่น
เป็นวิธีการสุดท้ายที่จะใช้ถ้าไม่มีวิธีอื่น
เชื้อโรค (ชนิด ปริมาณ ความเข้มข้น อายุของน้ำยา
อุณหภูมิ ความเป็นกรดด่าง)
การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
ใช้สบู่ก้อนหรือสบู่เหลว การล้างมือหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งของที่ปนเปื้อนเชื้อโรคและการล้างมือก่อนสัมผัสผู้ป่วยภูมิคุ้มกันโรคต่ำ(Hygienic hand washing)
ฟอกมือด้วย Chlorhexidine 4% หรือ Iodophor 7.5% หรือถูมือ 2 ข้าง
ด้วยน้ำยาผสม Alcohol 70% + Chlorhexidine 0.5% ประมาณ 5-10 มิลลิลิตร จนน้ำยาแห้ง
การล้างมือก่อนทำหัตถการ (Surgical handwashing)
ถ้าเป็นการทำหัตถการครั้งแรกของวันให้แปรงมือและแขนถึงข้อศอกให้ทั่วทุกซอกทุกมุม
Chlorhexidine 4% หรือ Iodophor 7.5% เป็นเวลาอย่างน้อย 5 นาที ครั้งต่อไปฟอกมือให้ทั่วด้วย
น้ำยาข้างต้นนาน 3 – 5 นาที
การเตรียมผิวหนัง
เพื่อการฉีดยาใช้ Alcohol 70%
ผ่าตัดเล็กใช้ Alcohol 70% หรือ Tr.iodine 2%
ผ่าตัดใหญ่ใช้ฟอกให้เป็นบริเวณกว้างด้วย Chlorhexidine 4% หรือIodophor 7.5% เช็ดน้ำยาออก แล้วทาด้วย Alcohol 70% + Clorhexidine 0.5% หรือ Iodophor10%
การทำแผล
ล้างแผลให้สะอาดด้วย Steriled normal saline
ถ้าแผลสกปรกเช็ดผิวหนังรอบ ๆ แผลด้วย Alcohol 70% หรือ Tr.iodine 2% หรือ Iodophor 10%
ถ้ามีหนองมากให้ทำ Wet dressing ด้วย Steriled normal saline
ถ้ามีหนองมากให้ทำ Wet dressing ด้วย Steriled normal saline
การสวนล้างช่องคลอดใช้ Cetrimide 15% + Chlorhexidine 1.5% เจือจาง1:100 หรือ Chloroxylenol 1:100 หรือ 1:200
การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัดใช้ Iodophor 10%
ระดับการทำลายเชื้อ
การทำลายเชื้อระดับสูง (High-level disinfection)
สามารถทำลายจุลชีพก่อโรคได้ทุกชนิด รวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรีย
สามารถทำลายเชื้อในอุปกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพในเวลารวดเร็ว
น้ำยาทำลายเชื้อที่มีคุณสมบัติในการทำลายเชื้อระดับสูง
ได้แก่
Glutaraldehyde
Chlorine dioxide
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
การทำลายเชื้อระดับกลาง (Intermediate-level disinfection)
สามารถทำให้เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราอ่อนกำลังลงจนไม่ ก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์ แต่ไม่สามารถทำลายสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียได้
ได้แก่
แอลกอฮอล์ (70-90% Ethanol หรือ Isopropanol)
Chlorine compounds
Phenolic
Iodophor
วิธีการพาสเจอร์ไรเซชั่น (Pasteurization)
การทำลายเชื้อโดยวิธีทางกายภาพโดยแช่อุปกรณ์ที่ล้างทำความสะอาดแล้วในน้ำที่มีอุณหภูมิ 65-77 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที
การทำลายเชื้อระดับต่ำ (Low-level disinfection)
สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราบางชนิด แต่ไม่สามารถทำลายเชื้อที่มีความคงทน
วิธีนี้เหมาะสำหรับอุปกรณ์ประเภท Noncritical items ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่สัมผัสกับผิวหนังปกติ ผิวหนังที่ไม่มีบาดแผลหรือไม่มีรอยถลอก และไม่ได้สัมผัสกับเยื่อบุของร่างกาย
การทำให้ปราศจากเชื้อ (Sterilization)
กระบวนการในการทำลายหรือขจัดเชื้อจุลชีพทุกชนิดรวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียจากเครื่องมือทางการแพทย์ อุปกรณ์ที่ต้องผ่านเข้าสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่ปราศจากเชื้อ กระแสเลือดหรือเนื้อเยื่อ
วิธีการทำให้อุปกรณ์ปราศจากเชื้อแบ่งออกได้เป็น 2 วิธีใหญ่ ๆ
วิธีการทางกายภาพ (Physical method)
การใช้ความร้อน (Thermal or Heat sterilization)
วิธีที่ปฏิบัติได้ง่ายและมีประสิทธิภาพสูงสุด
การเผา (Incineration)
ใช้ในการทำลายอุปกรณ์ที่จะไม่นำกลับมาใช้อีกต่อไป
อุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนมากจนไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่
การใช้ความร้อนแห้ง (Dry heat)
วิธีนี้จะบรรจุอุปกรณ์ในเตาอบโดยใช้อุณหภูมิสูง 160-180 องศาเซลเซียสเป็นเวลานาน 1-2 ชั่วโมง
เหมาะสำหรับอุปกรณ์ประเภทแก้วและโลหะ
การต้ม (Boiling)
การต้มในน้ำเดือด 100 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที
การใช้ความร้อนชื้น (Moist heat)
การนึ่งไอน้ำภายใต้ความดัน (Autoclave) เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพที่สุด
ระยะเวลาที่นึ่งจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและความดัน
การใช้รังสี (Ionizing radiation)
การใช้รังสีคลื่นสั้นในการทำให้อุปกรณ์ปราศจากเชื้อเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพ
รังสีเอกซ์ (X-ray) และรังสีแกมมา (Gamma rays)
ปราศจากเชื้อด้วยวิธีนี้อย่างมีประสิทธิภาพจะต้องให้รังสีสัมผัสโดยตรงกับเชื้อจุลชีพ
รังสีอุลตร้าไวโอเลท (Ultraviolet light: UV)
สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรีย
ได้หลายชนิด แต่การแทรกซึมเข้าสู่อุปกรณ์ไม่ดี
วิธีการทางเคมี (Chemical method)
การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas (EO)
ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน
มีประสิทธิภาพสูงและเหมาะสำหรับวัสดุที่ไม่สามารถทนความร้อนและความชื้นได้
ข้อเสีย
ต้องใช้เวลานาน
เสียค่าใช้จ่ายสูง
อาจทำให้เกิดสารพิษตกค้างหากใช้บ่อยๆ
อาจทำให้ปริมาณ EO ตกค้างในอุปกรณ์ที่มีเนื้อวัสดุเป็นรูพรุนได้
Formaldehyde
มีฤทธิ์ทำลายเชื้อจุลชีพได้อย่างกว้างขวาง
สามารถอบให้ปราศจากเชื้อได้ภายใน 6-12 ชั่วโมง ถ้าเป็นสปอร์
ของแบคทีเรียต้องใช้เวลานาน 2-4 วัน
การใช้ High-level disinfectant
ห่ออุปกรณ์ที่ผ่านการทำให้ปราศจากเชื้อแล้วจะมีระยะเวลาในการคงสภาพปราศจากเชื้อ หรือที่เรียกว่า Shelf life
วิะีการเก็บรักษา
เก็บไว้ในตู้มีฝาปิดมิดชิด ไม่มีแมลงหรือสัตว์เข้าไปรบกวน
เก็บไว้ในที่แห้ง ห่างจากอ่างล้างมือหรือบริเวณที่เปียกชื้น
เก็บไว้ในปริมาณพอเหมาะ พอใช้ ไม่ควรสะสมไว้มากเกินไป
วัสดุปราศจากเชื้อห่อพลาสติกหรือกระดาษ ไม่ควรเอายางรัดเพราะจะทำให้วัสดุห่อหุ้มฉีกขาด
วัสดุที่ห่อและทำให้ปราศจากเชื้อในสถานพยาบาล ต้องใช้ในกำหนดเวลา หากห่ออุปกรณ์หมดอายุจะต้องนำกลับไปห่อใหม่และทำให้ปราศจากเชื้ออีกครั้งก่อนนำไปใช้
เก็บในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
อุณหภูมิ 18-22 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 35-70% และไม่มีลมผัดผ่าน จะสามารถเก็บได้นานที่สุด
เป็นองค์ประกอบที่สำคัญยิ่งในการการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล อุปกรณ์ทางการแพทย์บางชนิดเป็นอุปกรณ์ที่มีราคาแพง และมีกานำมาใช้ซ้ำกับผู้ป่วยจำนวนมาก
ต้องดำเนินการอย่างถูกต้องและเหมาะสม เพื่อความปลอดภัยและเป็นการยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การปฏิบัติเพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อจุลชีพจากผู้ป่วยที่มีเชื้อหรือผู้ป่วยที่มีเชื้ออยู่แต่ไม่ปรากฏอาการ (Carrier) แพร่ไปสู่ผู้ป่วยอื่น บุคลากรหรือญาติผู้ป่วย
Standard precautions
การนำแนวปฏิบัติของ Universal precautions และ Body substance isolation
เป็นการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากเลือด สารน้ำของร่างกาย
สารคัดหลั่งทุกชนิด และสารขับถ่าย ยกเว้นเหงื่อ
ประกอบด้วย
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
ถูมือทั้งสองข้างให้ทั่วถึงทุกด้าน นานอย่างน้อย 10 วินาที
การล้างมือก่อนและหลังการรับประทานอาหาร ก่อนและหลังแจกยา
ปัจจุบันการล้างมือมีวิธีการ 7 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 3
ฝ่ามือถูฝ่ามือและกางนิ้วมือ เพื่อถูง่ามนิ้วมือ
ขั้นตอนที่ 4
มือสองข้างจับล็อคกัน ให้ฝ่ามืออีกข้างถูหลังนิ้วมือและนิ้วมือถูนิ้วมือ
ขั้นตอนที่ 2
ฝ่ามือถูหลังมือและกางนิ้วมือ เพื่อถูง่ามนิ้วมือ
ขั้นตอนที่ 5
ฟอกหัวแม่มือโดยรอบ ด้วยฝ่ามือ
ขั้นตอนที่ 1
เปิดน้ำให้ราดมือทั้งสองข้าง ฟอกด้วยสบู่ให้ทั่วมือ โดยหันฝ่ามือถูฝ่ามือ
ขั้นตอนที่ 6
ใช้ปลายนิ้วมือถูฝ่ามือทำสลับกันทั้ง 2 ข้าง
ขั้นตอนที่ 7
ถูรอบข้อมือทั้ง 2 ข้าง
ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสู่ญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย
เป็นการล้างมือเพื่อขจัดเชื้อจุลชีพที่อยู่ชั่วคราวบนมือก่อนปฏิบัติการรักษาพยาบาลที่ใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ
โดยการล้างมือด้วยน้ำสะอาดให้มือเปียกให้ทั่ว ฟอกด้วยน้ำยาทำลายเชื้อ (Antiseptic)
การล้างมือก่อนทำหัตถการ (Surgical hand washing)
เป็นการล้างมือเพื่อขจัดหรือทำลายเชื้อหรือทำลายจุลชีพซึ่งอยู่ชั่วคราวบนมือ และลดจำนวนจุลชีพประจำถิ่นบนมือเพื่อเตรียมหัตถการ
ล้างมือด้วยน้ำสะอาด และฟอกมือด้วยน้ำยา
ทำลายเชื้อที่มือจนถึงข้อศอก เป็นเวลา 2-6 นาที
การใช้ Alcohol hand rub
ทดแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน หรือในบริเวณที่ไม่
มีอ่างล้างมือ แต่ไม่ควรใช้ในกรณีที่มือเปื้อนสิ่งสกปรก หรือสารคัดหลั่งจากร่างกายที่มองเห็นด้วยตาเปล่า
โดยใช้ประมาณ 5 ml.ถูมือทั้ง 2 ข้างให้ทั่วจนน้ำยาแห้งใช้เวลา
ประมาณ 30 วินาที โดยไม่ต้องล้างน้ำออก
สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
การใช้เครื่องป้องกันร่างกายจะใช้เมื่อจำเป็นในกรณีที่มีข้อบ่งชี้เท่านั้นและเมื่อหมดกิจกรรมนั้นแล้วให้ถอดเครื่องป้องกันร่างกายนั้นออก
การใช้เครื่องป้องกันร่างกายแต่ละชนิด มีรายละเอียดดังนี้
ถุงมือ
ถุงมือปราศจากเชื้อ (Sterile glove)
ใช้เมื่อจะหยิบ จับ เครื่องมือที่ปราศจากเชื้อ หรือเมื่อจะทำหัตถการ
ถุงมือสะอาด(Non–sterile glove)
ใช้เมื่อจะหยิบ จับ สิ่งของสกปรก น่ารังเกียจ มีสารพิษ หรือมี
เชื้อโรคการจับต้องผู้ป่วยหรืออวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของผู้ป่วยที่มีหรือคาดว่าจะมีเชื้อโรคอันตราย
การหยิบ จับ ล้าง วัสดุ หรือสถานที่สกปรก หรือมีเชื้อโรค (ให้ใช้ถุงมืออย่างหนา)
เสื้อคลุม
ใช้เมื่อจะสัมผัสกับสิ่งที่มีเชื้อโรคและเพื่อป้องกันเชื้อโรคแพร่สู่ผู้ป่วย
ผ้าปิดปากและจมูก
ใช้ป้องกันการแพร่เชื้อจากจมูกและปากจากผู้สวมสู่คนที่อยู่ใกล้เคียง
ช่วยลดละอองน้ำหรือเลือดที่กระเด็นในขณะทำการผ่าตัดมิให้มาสัมผัสกับปาก จมูกได้
หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง ทิ้งอุปกรณ์มีคมที่ใช้แล้วในภาชนะที่เหมาะสม
ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและการสัมผัสกับสารคัดหลั่ง
ทำความสะอาดและทำลายเชื้อ หรือทำให้ปราศจากเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ทุกชิ้นที่ใช้กับผู้ป่วยแล้ว
หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน โดยเฉพาะถูกเข็มที่ใช้กับผู้ป่วยตำ
Transmission-base precautions
การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อที่ทำให้เกิดโรคตามทางที่เชื้อออกจากตัวผู้ป่วย และทางที่จะเข้าสู่บุคคล
ประกอบด้วยวิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 3 วิธี
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne precautions)
เป็นการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อที่มีอนุภาคขนาดเล็กกว่า 5 ไมครอน
ปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติดังนี้
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ (Isolation) และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรงหรือผ่านเครื่องกรองที่มีประสิทธิภาพ ห้องแยกควรมีการหมุนเวียนอากาศอย่างน้อย 6 รอบต่อชั่วโมง
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ในกรณีความจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้องให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดใช้แล้วทิ้ง (Disposable mask)
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูกน้ำลาย (Droplet precautions)
เป็นการปฏิบัติเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจุลชีพที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน
อนุภาคฝอยละอองน้ำมูกน้ำลายเกิดจากการไอ จาม พูด การดูดเสมหะ การส่องกล้อง
ลอยอยู่ในอากาศได้ไม่นาน และมักลอยอยู่ภายในระยะทางไม่เกิน 3 ฟุตจากแหล่งโรค
แนวทางการปฏิบัติ
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
หากไม่มีห้องแยกและไม่สามารถจัดให้ผู้ป่วยอยู่รวมกันได้ ควรจัดระยะห่างระหว่างเตียง ไม่น้อยกว่า 3 ฟุต
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ ผ้าปิดปาก-จมูก เมื่อให้การดูแลผู้ป่วยในระยะ 3 ฟุต
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจำเป็นควรให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดชนิดใช้แล้วทิ้ง (Disposable mask)
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact precautions)
เป็นการปฏิบัติเพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อที่เกิดจากการสัมผัสทั้งทางตรงและทางอ้อม
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อแบคทีเรียดื้อยาหลายชนิด
MRSA
Vancomycin-resistant enterococci (VRE)
การป้องกันนี้มีแนวทางการปฏิบัติ
สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย และเปลี่ยนถุงมือคู่ใหม่เมื่อสัมผัสสิ่งคัดหลั่งหรือส่วนของร่างกายที่น่าจะมีเชื้อโรคจำนวนมากขณะให้การพยาบาลผู้ป่วยรายเดิม
ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมน้ำยาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
สวมเสื้อคลุม หากคาดว่าอาจสัมผัสเลือด สารคัดหลั่ง หนอง อุจจาระของผู้ป่วย
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจำเป็นต้องเคลื่อนย้าย ต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดการแปดเปื้อนเชื้อในสิ่งแวดล้อม
หากสามารถทำ ได้ควรแยกอุปกรณ์ชนิด Non-critical items สำหรับผู้ป่วยโดยเฉพาะ หากไม่สามารถแยกอุปกรณ์ได้ต้องทำความสะอาดและทำลายเชื้อก่อนนำไปใช้กับผู้ป่วยรายอื่น
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
กำจัดเชื้อโรค
แหล่งของเชื้อโรคอาจจะเป็นมนุษย์ สัตว์ หรืออาคารสถานที่ ต้องกำจัดให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้
ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย ควรจะแยกจากแหล่งของเชื้อโรค และพยายามรักษาสาเหตุที่ทำให้ภูมิคุ้มกันโรคเสียไป
สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่
การทำลายขยะ
ขยะพวกที่เป็นเลือด หนอง หรือน้ำสามารถเทลงโถส้วมได้ สำหรับ
กระดาษ ผ้าต่างๆ ทิ้งแบบขยะธรรมดา
นเข็ม ใบมีด เชื้อโรคจากห้องปฏิบัติการ ถ้าทิ้ง
จะต้องส่งไปทำลายเชื้อจุลินทรีย์โดย Autoclave ก่อนทิ้ง
การแยกขยะในโรงพยาบาล
ขยะติดเชื้อ ใส่ถุงสีแดง
ขยะทั่วไป แยกเป็นขยะแห้งและขยะเปียก ใส่ถุงสีดำ
ขยะเป็นพิษ เช่น แท่งแก๊ส โซดาลามของงานวิสัญญี ถ่านไฟฉาย อุปกรณ์ที่ใช้ในการให้เคมีบำบัด
ขยะที่นำกลับไปใช้ใหม่ (Recycle) ใส่ถุงสีขาว
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อต้องกระทำอย่างถูกต้อง เพื่อให้เครื่องมือเครื่องใช้ อาคาร สถานที่ ปราศจากเชื้อโรคที่จะทำอันตรายต่อผู้ป่วยและบุคลากร
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน การใช้ยาต้านจุลชีพมากเกินไปหรือใช้อย่างพร่ำเพรื่อจะทำให้มีเชื้อดื้อยามาก
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล เพื่อให้ทราบลักษณะการเกิดและการกระจายของการติดเชื้อในโรงพยาบาล ทราบสถานการณ์หรือแนวโน้มของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล บุคลากรทางการแพทย์อาจจะได้รับเชื้อในขณะปฏิบัติงาน
ติดเชื้อได้ 3 ทาง
ถูกเข็มตำหรือของมีคมบาด
มือมีบาดแผลหรือผิวหนังแตกเป็น
รอย
เลือดหรือสารคัดหลั่งกระเด็นเข้าตา ปาก จมูก
กระบวนการการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย (Assessment)
โดยการซักประวัติและตรวจร่างกายเกี่ยวกับโรคของผู้ป่วย การรักษาที่ได้รับ ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
เมื่อรวบรวมข้อมูลจากการประเมินมาแล้วนำข้อมูลที่ได้มากำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
มีโอกาสเกิดการระบาดของโรคในชุมชน
การวางแผนและให้การพยาบาล (Planning and Implementation)
เมื่อได้ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล จากข้อมูลสนับสนุนที่ประเมินได้ ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ เกณฑ์การประเมินผล และ การพยาบาลตามปัญหาของผู้ป่วย
กิจกรรมการพยาบาลเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่นมี
ดังนี้
ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาลผู้ป่วย
ใช้หลัก Airborne precautions
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยและญาติ
รายงานอุบัติการณ์การเฝ้าระวังการเกิดโรคต่อคณะกรรมการการติดเชื้อของโรงพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสู่ญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย