Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
การติดเชื้อเป็นปฎิกิริยาของร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อมีเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
เชื้อก่อโรค ( Infectious agent )
หมายถึง เชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุขอองการติดเชื้อขึ้นอยู่กับความสามารถของเชื้อในการเพิ่มจำนวนและเจริญเติบโต
เเบคทีเรีย
แบคทีเรียแกรมบวก (Gram positive)
แบคทีเรียแรมลบ (Gram negative)
โปรโตซัว
Entamoeba histolytica ทำให้เกิดโรคบิด
เชื้อรา
Candida albicans
Canduda glabrata
ไวรัส
เชื้อเห็ด
อีสุกอีใส
เริม
ไข้หวัดใหญ่
Corona virus
พยาธิ
พยาธิเส้นด้าย (พบมากในเด็ก)
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค ( Reservoir)
แหล่งของเชื้อโรคเป็นที่ให้เชื้อโรคเจริญเติบโตและมีการขยายตัว
เชื้อโรคแต่ละชนิดจะเจริญเติบโตได้ดีในแล่งเชื้อโรคเฉพาะ
คน
เป็นแหล่งเชื้อวัณโรค ไข้หวัดใหญ่ หัด ได้เป็นอย่างดี
สัตว์
เช่น ยุงเป็นแหล่งของเชื้อมาลาเรีย
พืช
ดิน
เชื้อที่ทำให้เกิดบาดทะยักเจริญได้ดีในดิน
แมลง
เหา
เห็บ
หมัด
ทางออกของเชื้อ ( Protal of exit )
ระบบทางเดินหายใจ
เชื้อออกมาพร้อมน้ำมูก
ลมหายใจ
ทางระบบสืบพันธ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
เชื้อที่อยู่บนแผลที่ผิวหนัง
เชื้อจากมารดาทารกในครรภ์โดยผ่านสายสะดือ
โรคบางชนิดที่เชื้อโรคออกจากร่างกายผู้ป่วยหรือผู้ตืดเชื้อจากการที่แมลงกัดและดูดเลือดไปกัดผู้อื่น
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ ( Mode of transmission )
เชื้อแพร่กระจายจากผู้ติดเชื้อหรือผู้ป่วยไปสู่ผู้อื่นได้หลายทาง
การสัมผัส
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนำ
ทางเข้าของเชื้อ ( Portal of entry )
เมื่อเชื้อโรคออกจากแหล่งเชื้อโรคแล้วจะทำให้เกิดโรคได้ โดยการหาทางเข้าไปในร่างกายมนุษย์ใหม่ โดยทางเข้ามักเป็นทางเดียวกับที่ออกมา
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีดขาด
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล (Susceptible host)
เชื้อจุลชีพเข้าไปในร่างกายและจะทำให้บุคคลติดเชื้อได้ง่ายหรือยากขึ้นอยู่กับลักษณะของจุลชีพ
ธรรมชาติของเนื้อเยื่อที่รับเชื้อ
สุขภาพทั่วไปของแต่ละบุคคล
ภูมิคุ้มกันโรค
ธรรมชาติร่างกายมีกลไกและสิ่งที่จะต่อสู้กับจุลชีพที่มารุกรานอยู่แล้ว
มีผิวหนังป้องกันการรุกรามของจุลชีพ
ขนอ่อนในจมูกช่วยกรองอากาศที่หายใจเข้าไป
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความเครียด
ภาวะโภชนาการ
ความอ่อนเพลีย
ความร้อนหรือเย็น
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
เพศ
กรรมพันธ์
อายุ
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
อาชีพ
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
หมายถึงการติดเชื้ออันเป็นผลจากการที่ผุ้ป่วยได้รับเชื้อจุลชีพขณะอยู่ในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรค ส่วนใหญ่เป็นเชื้อประจำถิ่น
คน ผู้ที่ติดเชื้อในโรงพยาบาลส่วนใหญ่จะเป็นผู้ป่วย
สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่
การแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส ( Contact transmission )
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง ( Direct - contact transmission )
การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย
การอาบน้ำเช็ดตัวผู้ป่วย
การทำแผล
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยอ้อม ( Indirect - contact transmission )
ของเล่นแผนกเด็กป่วย
ลูกบิดประตู
ผ้าปูที่นอน
เครื่องช่วยหายใจ
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนำ
การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์เป็นพาหะ
การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อ ( Disinfection)
หมายถึง การกำจัดเชื้อจุลชีพบางชนิดที่แปดเปื้อนผิวหนัง อุปกรณ์เครื่องมือ
การล้าง
การต้ม
การใช้สารเคมี
การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
การล้างมือก่อนทำหัตถการ (Surgical handwashing)
การเตรียมผิวหนัง
การทำแผลล้างแผล
การทำความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอดหรือก่อนการตรวจภายใน
การสวนล้างช่องคลอด
การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัด
ระดับการทำลายเชื้อ
การทำลายเชื้อระดับสูง ( High-level disinfection )
การทำลายเชื้อระดับกลาง ( Intermediate-level disinfection )
การทำลายเชื้อระดับต่ำ ( Low-level disinfection )
การทำให้ปราศจากเชื้อ ( Sterilization )
หมายถึง กระบวนการในการทำลายหรือขจัดเชื้อจุลชีพทุกชนิดรวมทั้งสปอร์ของงเชื้อแบคทีเรียจากเครื่องมือทางการแพทย์
วิธีการทางกายภาพ
การใช้ความร้อน (Thermal or Heat sterilization)
การเผา
การต้ม
การใช้ความร้อนแห้ง
การใช้ความร้อนชื้น
การใช้รังสี ( lonizing radiation)
รังสีเอกซ์ ( X-rey )
รังสีแกมมา ( Gamma rays )
วิธีการทางเคมี (Chemical method)
การใช้แก๊ส
การใช้ High - level disinfectant
วิธีการเก็บรักษาที่ดี
เก็บไว้ในปริมาณพอเหมาะ
วัสดุปราศจากเชื้อห่อพลาสติกหรือกระดาษ
เก็บไว้ในที่แห้ง
วัสดุที่ห่อและทำให้ปราศจากเชื้อในสถานพยาบาล ต้องใช้ในกำหนดเวลาหากหมดอายุต้องนำกลับไปห่อใหม่
เก็บไว้ในตู้มีฝาปิดมิดชิด
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
หมายถึง การปปฎิบัติเพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อจุลชีพจากผู้ป่วยที่มีเชื้อ แพร่ไปสู่ผู้ป่วยอื่น
Standard Precautions
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อโรค
การล้างมือก่อนทำหัตถการ
การล้างมือธรรมดา 7 ขั้นตอน
การใช้ Alcohol hand rub
สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
ถุงมือ
ถุงมือปราศจากเชื้อ
ถุงมือสะอาด
เสื้อคลุม
ผ้าปิดปากและจมูก
หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
ทำความสะอาดและทำลายเชื้อ จากอุปกรณ์ทางการแพทย์ทุกชิ้น
หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฎิบัติงาน
Transmission-base precautions
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกันให้จัดอยู่ห้องเดียวกัน
อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรงหรือผ่านเครื่องกรอง
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก ชนิด N95
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูกน้ำลาย
จัดระยะห่างระหว่างเตียงไม่น้อยกว่า 3 ฟุต
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดจมูก
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกันจัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก และปิดประตูทุกครั้ง
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย
สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่
การทำลายขยะ
การแยกขยะในโรงพยาบาล
กำจัดเชื้อโรค
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อต้องทำอย่างถูกต้อง
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้อง
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฎิบัติงานในโรงพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคมการติดเชื้อ
การประเมินความเสียงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
มีโอกาสเกิดการระบาดของโรคในชุมชน
การวางแผนและให้การพยาบาล
ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาลผู้ป่วย
ใช้หลัก Airborne precautions
.ให้คำแนะนำการปฎิบัติตัวที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยและญาติ
รายงานอุบัติการณ์การเฝ้าระวังการเกิดโรคต่อคณะกรรมการการติดเชื้อของโรงพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
ไม่มีการแพร่การะจายเชื้อสู่ญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย