Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่ 1 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
คน
ผู้ที่ติดเชื้อในโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วย
แต่อาจจะเป็นบุคลากรในโรงพยาบาลได้
สิ่งแวดล้อม
เชื้อโรค
เป็นเชื้อประจำถิ่นหรือเชื้อที่พบบนร่างกายผู้ป่วยเอง
การแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
การแพร่กระจายเชื้อโดยผ่านสื่อนำ
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง
การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหะ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส
ทางตรง เกิดจากการที่มือไปสัมผัสแหล่งโรคแล้วสัมผัสผู้ป่วย
ทางอ้อม การสัมผัสกับสิ่งของหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อก่อโรค
วงจรการติดเชื้อ
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนำ
การสัมผัส
ทางเข้าของเชื้อ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ทางการหายใจ
ผิวหนังที่ฉีกขาด
ทางออกของเชื้อ
ระบบสืบพันธุ์
บาดแผล
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
สายสะดือ
ความไวในการรับเชื้อของแต่ละบุคคล
ธรรมชาติของเนื้อเยื่อที่ได้รับเชื้อ
สุขภาพทั่วไปของแต่ละบุคคล
ลักษณะของเชื้อจุลชีพ
ภูมิคุ้มกันโรค
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค
สัตว์ แมลงต่างๆ
พืช
คน
ดิน
เชื้อก่อโรค
เชื้อรา
ไวรัส
โปรโตซัว
พยาธิ
แบคทีเรีย
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อ(Disinfection)
การใช้นํ้ายาฆ่าเชื้อ
การเตรียมผิวหนัง
ฉีดยาใช้ Alcohol 70%
ผ่าตัดเล็กใช้ Alcohol 70% or Tr.iodine 2%
ผ่าตัดใหญ่ใช้ฟอกให้เป็นบริเวณกว้างด้วยChiorhexidine 4%
หรือ lodophor 7.5%เช็ดนํ้ายาออก ทาด้วยAlcohol 70%+Chlorhexidine 0.5%
การทำแผล ล้างแผลให้สะอาดด้วย Steriled normal saline ถ้าแผลสกปรกเช็ดผิวหนังรอบๆแผลด้วย Alcohol 70%หรือ Tr.iodine 2%หรือ lodophor 10% ถ้าแผลมีหนิงให้ทำWet dressing ด้วย Steriled normal saline
การล้างมือก่อนทำหัตถการ
ถ้าเป็นการทำหัตถการครั้งแรกของวันให้แปรงมือและแขนถึงข้อศอก
ให้ทั่วด้วย Chlorhexdine 4% หรือ lodophor 7.5% อย่างน้อย5นาที ครั้งต่อไปฟอกมือทั่วไปด้วยนํ้ายาข้งต้น 3-5นาที
การทำความสะอาดแผลฝีเย็บก่อนคลอดหรือก่อนตรวจภายใจ ใช้Cetrimide 15%+Chlorhexidind 1.5% เจือจาง1:100
การล้างมือแบบธรรมดา
ใช้สบู่ก้อนหรือสบู่เหลว การล้างมือก่อน-หลังการสัมผัสู้ป่วย
หรือสิ่งปนเปื้อนเชื่อก่อโรค ให้ฟอกมือด้วย Chiorhexidine 4%
หรือ lodophor 7.5%
การสวนล้างช่องคลอดใช้ Cetrimide 15%+Chlorhexidind 1.5% เจือจาง1:100 หรือChloroxylenol 1:100หรือ1:200
การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัดใช้ lodophor
การใช้สารเคมี
การต้ม
ต้มในนํ้าเดือด 20 นาที
การล้าง
ต้องล้างอย่างระมัดระวัง ต้องสวมถุงมือ
ผ้ากันเปื้อน แว่นตาป้องกัน
ระดับการทำลายเชื้อ
ระดับกลาง ทำให้เชื้อMycobacterium tuberculosis เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อรา อ่อนกำลังลงจนไม่สามารถก่อให้เกิดอันตรายได้
ระดับตํ่า ทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อราบางชนิด แต่ไม่สามารถทำลายเชื้อที่มีความคงทน
ระดับสูง ทำลายจุลชีพได้ทุกชนิด รวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรีย
การทำให้ปราศจากเชื้อ
วิธีการทางกายภาพ
การใช้ความร้อน
การต้ม
การใช้ความร้อนแห้ง
การเผา
การใช้ความร้อนชื้น
การใช้รังสี
วิธีการทางเคมี
การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas
มีประสิทธิภาพสูงและเหมาะสำหรับวัสดุ
ที่ไม่สามารถทนความร้อนและความชื้นได้
Foemaldehyde ความเข้มข้น 37% หรือเรียกว่า ฟอร์มาลิน
มีฤทธิ์ทำลายเชื้อจุลชีพได้อย่างกว้างขว้าง
การใช้ High-level disinfectant
Glutaraldehyde
Hydrogen peroxide
Peracrtic acid
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนและให้การพยาบาล
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย
การประเมินผลการพยาบาล
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
Standard precautions
เป็นการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากเลือด
สารนํ้าของร่างกาย สารคัดหลั่ง สารขับถ่าย ยกเว้นเหงื่อ
ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากให้แน่น
หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
ทำความสะอาดและทำลายเชื้อ
สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
Transmission-base precautions การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อที่ทำให้เกิดโรคตามทางที่เชื้อเข้า-ออกจากผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
จากฝอยระอองนํ้ามูกนํ้าลาย
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกัน
หากไม่มีห้องแยกควรจัดระยะห่างระหว่างเตียง 3ฟุต
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกและปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าออกห้องผู้ป่วย
ผู้ที่เข้าไปในห้อง ผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิดN95
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส
สวมเสื้อคลุม
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมนํ้ายาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
ควรแยกอุปกรณ์ชนิด Non-critical items สำหรับผู้ป่วยโดยเฉพาะ
สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลู้ป่วยและเปลี่ยนถุงมือคู่ใหม่ทุกครั้ง
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรงหรือผ่านเครื่องกรอง
ผู้ที่เข้าไปในห้อง ผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิดN95
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกัน
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องพิเศษ
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อต้องทำอย่างถูกต้อง
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน
สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่ ควรให้สะอาดและแห้ง
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อยควรแยกจากแหล่งเชื้อโรค
การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล
กำจัดเชื้อโรค
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
เพศ
กรรมพันธุ์
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
อายุ
ความร้อนหรือความเย็น
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
ความอ่อนเพลีย
อาชีพ
ภาวะโภชนาการ
ความเครียด