Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
Pregestational diabetes mellitu : เบาหวานก่อนอายุครรภ์24สัปดาห์
Type I diabetes : มักพบในผู้ที่มีอายุน้อย
Type II diabetes : เบาหวานชนิดนี้ควบคุมด้วยอาหารเพียงอย่างเดียว
Gestational diabetes mellitus, GDM : ตรวจพบครั้งแรกระหว่างการตั้งครรภ์
GDM A-1 : FBS<105 mg/dl
GDM A-2 : FBS>105mg/dl
พยาธิสภาพ
ภาวะที่ตับอ่อนผลิตอินซูลินได้ไม่เพียงพอกับความจำเป็นในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต จึงทำให้กลูโคสไม่สามารถเข้าไปในเซลล์ได้จึงยังคงอยู่ในกระแสเลือด
ผลกระทบ
ต่อมารดา
Diabetic retinopathy
Diabetic nephropathy
Diabetic nephropathy
Infection
dystocia
Postpartum hemorrhage
ผลต่อทารก
Abortion
Malformation
Fetal death
Macrosomia
Intrauterine growth restriction
แนวทางการวินิจฉัยระหว่างตั้งครรภ์
การประเมินความเสี่ยง
คลอดผิดปกติ
ฺBMI>27kg/m2
ครอบครัว
อายุมากกว่า35ปี
Hx.DM
urine : trace
Glucose challenge test
Glucose 50g. 1hr
FBS > 140 mg/dl ส่ง OGTT
140-199 mg/dl นัด1wk. ตรวจ DM
200mg/dl = GDM
การดูแลรักษา
ระยะคลอด
การใช้ Insulin
IV fluid
การกำหนดเวลาคลอด
การคลอดตามข้อบ่งชี้
ระยะตั้งครรภ์
การควบคุมอาหาร
ควบคุมระดับน้ำตาลให้คงที่
ควบคุมน้ำหนัก
การสังเกตลูกดิ้น
ก่อนการตั้งครรภ์
การเสริมวิตามิน
การประเมินพยาธิสภาพต่างๆของหญิงตั้งครรภ
การให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ
ระยะหลังคลอด
ฺBreast feeding
การคุมกำเนิด
ควบคุมระดับน้ำตาล
Hyperthyroidism
สาเหตุ
โรคพลัมเมอร์ (Plummer’s disease ) คือ ต่อมไทรอยด์ไม่เรียบ เป็นตะปุ่มตะป่ำ ไม่มีอาการตาโปน
เนื้องอกเป็นพิษ (Toxic adenoma ) เนื้องอกของต่อมไทรอยด์
สร้างฮอร์โมนเอง ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของ TSH
โรคเกรฟ (Graves) เป็นโรคที่เกิดจากร่างกายมีภูมิต้านทานตนเอง
อาการและอาการแสดง
swollen eyes
weight loss
hair loss
irregular heart rate
hang tremors
การวินิจฉัยโรค
ตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เจาะเลือดตรวจ TSH ต่ำ T3 T4 สูง
การตรวจเลือด เช่น CBC
การซักประวัติ
ผลกระทบ
ต่อมารดา
มีโอกาสเกิดภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด
แท้งและคลอดก่อนกำหนด
ต่อทารก
มีโอกาสเป็นต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด
ทารกมีโอกาสเกิดภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
แนวทางการรักษา
methimazole
การผ่าตัด
propythiouracil (PTU) 100-150 mg/day
การใช้สารรังสี
Thyroid storm
ีหัวใจเต้นเร็ว ชีพจรอาจสูงถึง 140 ครั้ง/นาท
คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย
มีไข้ 38.5C โดยไข้จะเริ่มหลังจากการคลอดหรือการผ่าตัดในเวลาไม่เกิน 2-3 ชั่วโมง
สับสน ชัก จนหมดสติได้
Hypothyroidism
สาเหตุ
การผ่าตัดหรือสารรังสีรักษา
การขาดไอโอดีน
มีการทำลายของเนื้อต่อมไทรอยด์
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับ F4 ต่ำTSH สูง
T ต่ำ DTR ช้า
อาการ
ทนเย็นไม่ได้
เบื่ออาหาร
นน.เพิ่ม
ผมร่วง เสียงแหบ
การซักประวัติ
การรักษามาก่อน
การใช้ยา Lithium
แนวทางการรักษา
ปรับขนาดยาตามระดับ TSH , T4
ติดตามการทำงานของต่อมไทรอยด์ทุกไตรมาส
T4 ขนาด 100-200 mg/วัน วันละครั้ง นาน 3
สัปดาห์
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
มีโอกาสจะแท้งบุตร
ต่อทารก
มีความบกพร่องในการพัฒนาสมอง
Cretinism
หอบหืดในหญิงตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบากหรือแน่นหน้าอก หายใจมี
เสียง wheezing
หายใจเร็ว
มากกว่า 35 ครั้ง/นาที ชีพจรเร็วมากกว่า 120 ครั้ง/นาที เหงื่อออกมาก
มีอาการไอเรื้อรัง (มากกว่า 8 สัปดาห์)
การวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย จะได้ยินเสียง wheezing หรือ rhonchi
.ตรวจเสมหะยอมเชื้อ ตรวจเอกซ์เรย์ทรวงอก
จากการซักประวัติอาการและอาการแสดง
ผลกระทบ
ด้านทารก
คลอดก่อนกกำหนด
คลอดน้ำหนักตัวนอย
ทารก
เจริญเติบโตช้าในครรภ
พร่องออกซิเจน
ด้านมารดา
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ
ตกเลือด
asthmatic attack
การพยาบาล
ระยะคลอด
ให้ออกซิเจนทันทีเมื่อมีอาการหอบ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
จัดทานอนศีรษะสูง
-ประเมินลักษณะการหายใจ ชีพจร สีเล็บ
ระยะหลังคลอด
เน้นการป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
-ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
-ดูแลให้มารดาหลังคลอดได้รับยารักษาโรคหอบหืดอย่างตอเนื่อง
ระยะตั้งครรภ์
รับประทานยาหรือพนยาตามแผนการรักษา
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง ดื่มน้ำมากๆพักผ่อนให้เพียงพอ
หลีกเลี่ยงอากาศเย็นหรือร้อน
ติดตามการนับและบันทึกลูกดิ้น
ฝากครรภ์ตามนัด
วัณโรคปอดในหญิงตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ไอมากขึ้นเวลาเข้านอน
หรือตื่นนอนตอนเช้า
ครั่นเนื้อครั่นตัวมีไข้ตอนบ่าย
ะไอแห้งๆต่อมาจึงมีเสมหะลักษณะเป็นมูกปนหนอง
การวินิจฉัย
Tuberculin skin test ซึ่งวิธีนี้ไม่แนะนำให้ใช้ตรวจในหญิงตั้งครรภ์และหญิงที่ให้นมบุตร
การซักประวติอาการและอาการแสดง
การส่งตรวจเสมหะ
การตรวจย้อมหาเชื้อวัณโรค (acid fast bacilli staining)
-การเพาะเชื้อ (culture for mycobacterium tuberculosis)
การตรวจหาสารพันธุกรรมที่เชื้อวัณโรค
ตรวจเอกซ์เรย์ปอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เน้นปลา นม ไข
งดเว้นสิ่งเสพติด
-แนะนำรับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์ใช้ยาสูตร
2HRZE/4HR
สวมผ้าปิดปากป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะหลังคลอด
สวมผ้าปิดปากปิดจมูกป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ทารกแรกเกิดควรได้รับการตรวจ Tuberculin skin test เมื่อแรกเกิด พร้อมกับให้ยา INHและ rifampicin ทันทีหลังคลอด
แยกทารกออกจากมารดาจนกระทั้งการเพาะเชื้อจากเสมหะของมารดาได้ผลลบ
ระยะคลอด
-ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์และความก้าวหน้าของการคลอด
ดูแลให้อยู่ในห้องแยก ให้ผู้คลอดพักผ่อนให้เพียงพอ
ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ
Urinary trac infections; UTI
สาเหตุ
การมีเพศสัมพันธุ์
ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนที่เพิ่มขึ้นทำให้เกิดการคลายตัว
เชื้อแบคทีเรียที่โดยปกติอาศัยอยู่บริเวณลำไส้หรือบริเวณผิวหนังรอบทวารหนักและช่องคลอด
การวินิจฉัย
urine culture
urinalysis
ภาวะแทรกซ้อน
Septic shock
Septic shock
Abortion
Chronic pyelonephritis
Premature labor
โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
Symptomatic bacteriuria
Pyelonephritis
อาการและอาการแสดง
ปวดหลังที่ตำแหน่ง Costo vertebral angle
มึนศีรษะคลื่นไส้ และอาจอาเจียน
ปัสสาวะขุ่น (turbid urine)
พบเชื้อแบคทีเรียมากกว่า 100, 000โคโลนี/ลูกบาศก์
เซนติเมตร ในน้ำปัสสาวะ
แนวทางการรักษา
Ampicillin 1-2 กรัม IV ทุก 6 ชั่วโมงร่วมกับ gentamicin1 มก./กก. ทุก 8 ชั่วโมง
Ceftriazone 1-2 กรัม IV ทุก 24 ชั่วโมง
ให้ดื่มน้ำให้เพียงพอให้สารน้ำทางหลอดเลือดด่า และทำ Intake output
Trimethoprin sulfamethoxazole 160/800 มก. IV ทุก 12 ชั่วโมง
Cystitis
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะขุ่น
ปัสสาวะแสบขัด
Suprapubic pain
แนวทางการรักษา
การรักษาเหมือน Asymptomatic bacterial
Ampicillin 500 mg หรือ Amoxycillin 500 mg
Asymptomatic bacterial
การรักษา
หลีกเลี่ยงน้ำ
ชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มี Alcohol เครื่องเทศ
สังเกตการณ์ดิ้นของเด็กทารก
ดื่มน้ำมากๆ 2,000-3,000 cc./day
ส่งตรวจ Urine culture
ดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล