Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ
1.1วงจรการติดเชื้อ
มีองค์ประกอบดังนี้
1.1.4หนทางการแพร่กระจายเชื้อ (Mode of transmission)
ทาง เชื้อจุลชีพแต่ละชนิดมีวิธีการแพร่กระจายที่แตกต่างกัน
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนํา
การสัมผัส
1.1.5ทางเข้าของเชื้อ (Portalof entry)
ทางเข้ามักเป็นทางเดียวกับที่ออกมา
1.1.3ทางออกของเชื้อ (Portal of exit)
เช่น
เชื้อออกทางระบบสืบพันธุ์
ลมหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
เชื้อที่อยู่บนแผลที่ผิวหนัง
1.1.6ความไวในการรับเชื้อของบุคคล (Susceptible host)
บุคคลติดเชื้อง่ายหรือยากขึ้นอยู่กับลักษณะของเชื้อจุลชีพ
ธรรมชาติของเนื้อเยื่อที่รับเชื้อ
สุขภาพทั่วไปของแต่ละบุคคล
มิคุ้มกันโรค
1.1.2แหล่งกักเก็บเชื้อโรค (Reservoir)
เป็นที่ให้เชื้อโรคเจริญเติบโต
มีการขยายตัว
คนหรือสัตว์ที่มีเชื้อก่อโรคอยู่ในตัวและตนเองไม่เกิดโรค
แพร่กระจายเชื้อไปสู่คน
เรียกว่า Carrier
1.1.1 เชื้อก่อโรค (Infectious agent)
เเบ่งออกได้เป็น
ไวรัส
เชื้อหัด อีสุกอีใส เริม ไข้หวัดใหญ่ Corona virus
โปรโตซัว
Entamoeba histolytica
โรคบิด
พยาธิ
พยาธิเส้นด้าย
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
แบคทีเรีย
Staphylococcus epidermidis
Staphylococcus aureus
Clostridium difficile
เชื้อรา
Canduda glabrata
Candida albicans
1.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
ความต้านทานต่ำกว่าคนปกติ
เพศ
ความร้อนหรือเย็น
กรรมพันธุ์
ความอ่อนเพลีย
อายุ
ภาวะโภชนาการ
ได้รับอาหารครบถ้วน
ไวต่อการติดเชื้อน้อย
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
ความเครียด (Stress)
ความไวต่อการติดเชื้อได้ง่าย
อาชีพ
คนเลี้ยงนกพิราบมีโอกาสติดเชื้อไวรัส H1N1
1.3 การติดเชื้อในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
คือ
คน
สิ่งเเวดล้อม
เชื้อโรค
ส่วนใหญ่เป็นเชื้อประจํา
การแพร่กระจายเชื้อ
1)การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง
การทําแผล
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยอ้อม
ครื่องช่วยหายใจ
2)การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง
การตรวจหลอดลม
3)การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
เชื้อสุกใส เชื้อวัณโรค งูสวัด
4)การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนํา
การติดเชื้อ salmonella จากอาหาร
5)การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ
ถูกยุงที่มีเชื้อมาลาเรียกัด
1.4 การทําลายเชื้อ และการทําให้ปราศจากเชื้อ
การทําลายเชื้อ(Disinfection)
มีด้วยกันหลายวิธี
การต้ม
การใช้สารเคมี
การล้าง
การใช้น้ํายาฆ่าเชื้อ
การล้างมือธรรมดา
การล้างมือก่อนทําหัตถการ
การเตรียมผิวหนัง
เพื่อการฉีดยา
ผ่าตัดเล็ก
ผ่าตัดใหญ่ใช้ฟอกให้เป็นบริเวณกว้าง
การทําแผล
การทําความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอดหรือก่อนการตรวจภายใน
การสวนล้างช่องคลอด
การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัด
ระดับการทําลายเชื้อ
การทําลายเชื้อระดับสูง(High-level disinfection)
ทำลายจุลชีพก่อโรคได้ทุกชนิด รวมทั้งสปอร์ขิงเชื้อเเบคทีเรีย
ทำลายเชื้อในอุปกรณ์ได้ดี
น้ํายาทําลายเชื้อที่มีคุณสมบัติในการทําลายเชื้อระดับสูง
ได้เเก่
Glutaraldehyde
Chlorine dioxide
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
การทําลายเชื้อระดับกลาง(Intermediate-level disinfection)
ทำให้เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราอ่อนกําลังลง
ไม่สามารถทำลายสปอร์ของเชื้อเเบคทีเรียได้
การทําลายเชื้อระดับต่ํา(Low-level disinfection)
สามารถทําลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราบางชนิด
ไม่สามารถทําลายเชื้อที่มีความคงทน
Tuberculosis bacilli
สปอร์ของเชื้อแบคทีเรียได้
เหมาะสําหรับอุปกรณ์ประเภท Noncritical items
น้ำยาทําลายเชื้อได้เเก่
Quaternary ammonium compounds,
Iodophors หรือ Phenolic
การทําให้ปราศจากเชื้อ (Sterilization)
แบ่งออกได้ 2 วิธี คือ
1) วิธีการทางกายภาพ(Physical method)
ได้เเก่
การใช้ความร้อน
การเผา (Incineration)
การใช้ความร้อนแห้ง (Dry heat)
การต้ม (Boiling)
การใช้ความร้อนชื้น (Moist heat)
การใช้รังสี (Ionizing radiation)
2) วิธีการทางเคมี(Chemical method)
การใช้แก๊ส
ได้เเก่
Ethylene oxide gas (EO)
เหมาะสําหรับวัสดุที่ไม่สามารถทนความร้อนและความชื้นได้
Formaldehyde
สามารถอบให้ปราศจากเชื้อได้ภายใน 6-12 ชั่วโมง
หรือเรียกว่า ฟอร์มาลิน (Formalin)
การใช้ High-level disinfectant
ได้เเก่
Glutaraldehyde
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
1.5การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
1.Standard precautions
ประกอบด้วย
1)ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
การลล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อโรค
เพื่อขจัดเชื้อจุลชีพที่อยู่ชั่วคราวบนมือก่อนปฏิบัติการรักษาพยาบาล
การล้างมือก่อนทําหัตถการ
เพื่อขจัดหรือทําลายเชื้อหรือทําลายจุลชีพ
ลดจํานวนจุลชีพประจําถิ่นบนมือ
การล้างมือธรรมดา
ล้างมือเพื่อขจัดสิ่งเปรอะเปื้อน
การใช้Alcohol hand rub
แทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน
2)สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
ถุงมือ
Sterile glove
Non–sterile glove
ผ้าปิดปากและจมูก
เสื้อคลุม
3)หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
4)ทําความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
5)บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
6)ทําความสะอาดและทําลายเชื้อ
7)หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน
2 .Transmission-base precautions
ประกอบด้วย
1)การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ(Airborne precautions)
(1)แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ
(2)ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
(3)อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรง
(4)ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยวยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
(5)จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
2) การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ํามูกน้ําลาย(Droplet precautions)
(1)แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก
(2)ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
(3)หากห้องไม่พอควรจัดระยะห่างระหว่างเตียง ไม่น้อยกว่า 3 ฟุต
(4)ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยวยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ยืนห่าง3ฟุต
(5)จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
3) การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส(Contact precautions)
(1)สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย
(2)ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมน้ํายาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
(3)สวมเสื้อคลุม
(4)จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
(5)หากสามารถทําได้ควรแยกอุปกรณ์ชนิด Non-critical items
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
อาศัยหลักการดังต่อไปนี้
1) กําจัดเชื้อโรค
2) ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย
ควรจะแยกจากแหล่งของเชื้อโรค
รักษาสาเหตุที่ทําให้ภูมิคุ้มกันโรคเสียไป
3.สภาพเเวดล้อมควรให้สอาดเเห้ง
4) การทําลายเชื้อและการทําให้ปราศจากเชื้อต้องกระทําอย่างถูกต้อง
5) การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน
6) การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
7) การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล
1.6 กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ยึดหลักปฏิบัติ
Aseptic technique หรือ เทคนิคปลอดเชื้อ
กระบวนการพยาบาล
(1)การประเมิน(Assessment)
ซักประวัติตรวจร่างกาย
ภูมิคุ้มกันต่ำ WBC
ได้รับเคมีบําบัด
ภาวะโรคผู้ติดเชืÊอเอชไอวี/เอดส์SLE
(2)การวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursingdiagnosis)
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
(5)ประเมินผลการพยาบาล(Evaluation)
ไม่เกิดการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้ป่วยอื่น บุคลากร ญาติผู้ป่วย
การติดเชื้อลดลง
(3) การวางแผน (Planning)
หลักStandardprecautions
หลักTransmission-Baseprecautions
(4) ให้การพยาบาล (Implementation)