Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการไข้และไอ(ต่อ), นลินนิภา ประโคทานัง
รหัสนักศึกษา 601410033-0 -…
กลุ่มอาการไข้และไอ(ต่อ)
-
Pertussis
- เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Bordetella
pertussis (B. pertussis)
- ติดต่อกันได้ง่ายจากการไอจามรดกันโดยตรงผู้สัมผัสโรคที่ไม่มีภูมิคุ้มกันจะติดเชื้อและเกิดโรคเกือบทุกราย โรคนี้พบได้บ่อยในเด็กส่วนใหญ่ติดเชื้อมาจากผู้ใหญ่ในครอบครัวซึ่งมีการติดเชื้อ แต่ไม่มีอาการ (carrier)
- ระยะฟักตัวของโรคประมาณ 6-20 วัน
อาการและอาการแสดงแบ่งเป็น 3 ระยะ
- ระยะแรกเด็กจะเริ่มมีอาการมีน้ำมูกและไอเหมือนอาการเริ่มแรกของโรคหวัดธรรมดาอาจมีไข้ต่ำ ๆ ตาแดงน้ำตาไหลระยะนี้เรียกว่า Catarrhal stage จะเป็นอยู่ประมาณ 1-2 สัปดาห์
- Paroxysmal stage ระยะนี้มีอาการไอเป็นชุด ๆ เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่ 3 ไม่มีเสมหะจะเริ่มมีลักษณะของไอกรนคือมีอาการไอถี่ๆติดกันเป็นชุด 5-10 ครั้งตามด้วยการหายใจเข้าอย่างแรงจนเกิดเสียงรูป (whoop)
- ระยะไอเป็นชุด ๆ นี้จะเป็นอยู่นาน 2-4 สัปดาห์หรืออาจนานกว่านี้ได้
โรคแทรกซ้อนที่พบบ่อย
- ปอดอักเสบ
- เลือดออกในเยื่อบุตา
- มีอาการชัก
การวินิจฉัย
ต้องทำการเพาะเชื้อจาก nasopharyngeal Swab หรือดูดเอา nasopharyngeal mucus ส่วนใหญ่จะตรวจพบเชื้อได้ในระยะ Catarrhal stage และในสัปดาห์แรกที่เริ่มมีอาการไอแบบ paroxysmal ภายหลังจากเริ่มมีอาการ 4 สัปดาห์มักจะตรวจไม่พบ
•การรักษาผู้ป่วยในช่วงระยะแรก (Catarrhal stage) ให้ยาปฏิชีวนะที่ได้ผลเฉพาะคือ erythromycin ในขนาด 50 มก. / กก. / วันเป็นระยะเวลา 14
•การรักษาตามอาการพักผ่อนดื่มน้ำอุ่นอยู่ในห้องที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี
Acute bronchitis
สาเหตุ
ไวรัสที่พบเป็นสาเหตุได้บ่อยคือไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคหวัดและโรคไข้หวัดใหญ่เช่น Adenovirus, Coronavirus Coxsackievirus, Enterovirus, Influenza virus baz Rhinovirus) และประมาณ 10% เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียซึ่งที่พบได้บ่อยคือ Bordatelia pertussis Hemophilus influenza, Streptococcus pneumoniae ulaz Mycoplasma pneumoniae
อาการทางคลินิก
- ไอมักมีเสมหะร่วมด้วยเสมหะอาจมีสีขาวใสสีเหลืองเขียวเทาและสีอื่น ๆ ทั้งนี้ขึ้นกับชนิดของเชื้อที่ก่อโรค
- อาจกับเจ็บระคายคอ
- เสียงแหบ
- อาจมีไข้มักมีไข้ต่ำ ๆ แต่มีไข้สูงได้อ่อนเพลีย
การวินิจฉัย
- จากอาการและอาการแสดงทางคลินิก
- การตรวจร่างกาย แต่ในกรณีมีการไอมากร่วมกับมีไข้อาจมีการตรวจภาพปอดด้วยเอกซเรย์และการตรวจเลือด (CBC) และ / หรือการตรวจเชื้อและ / หรือการเพาะเชื้อจากเสมหะทั้งนี้ขึ้นกับดุลพินิจของแพทย์
•หลอดลมอักเสบเฉียบพลันมักหายภายใน 2 สัปดาห์
- การรักษาตามอาการ
- การรักษาประคับประคอง
- การรักษาจำเพาะเนื่องจากสาเหตุส่วนใหญ่ของหลอดลมอักเสบเฉียบพลันเกิดจากไวรัสดังนั้นการให้ยาต้านจุลชีพจึงไม่มีประโยชน์ยกเว้นในรายที่มีลักษณะบ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อแบคทีเรีย
Pneumonia
อาการทางคลินิกอาการและอาการแสดงที่ที่งที่ทำให้นึกถึงโรคปอดบวม ได้แก่
- ไข้
- ไอ
- หายใจหอบอายุ
- <2 เดือนอัตราการหายใจตั้งแต่ 60 ครั้งต่อนาทีขึ้นไปอายุ 2 เดือน-12 เดือนอัตราการหายใจตั้งแต่ 50 ครั้งต่อนาทีขึ้นไปอายุ 1-5 ปีอัตราการหายใจตั้งแต่ 40 ครั้งต่อนาทีขึ้นไปผู้ใหญ่อัตราหายใจมากกว่า 20 ครั้งต่อนาที
อาการทางคลินิก
- มีอาการหายใจลำบากมี chest wall retraction, flaring ala nasi ในขณะหายใจเข้าถ้าเป็นมาก
อาจเห็นมีริมฝีปากเขียว
- ฟังเสียงปอดมักจะได้ยินเสียง fine หรือ medium crepitation อาจได้ยินเสียง Sonorous rhonchi ร่วมด้วยหรืออาจได้ยินเสียง bronchial breath sound ในกรณีที่เนื้อปอดมีพยาธิสภาพแบบ consolidation ท้องอืดเกิดเนื่องจากมีอาการอักเสบของเนื้อปอดบริเวณส่วนล่างที่ติดกับกระบังลม
การรักษา โรคปอดบวมไม่รุนแรงเด็กอายุ 2 เดือน-5 ปีให้กิน amoxycillin 40-50 มก. / กก. / วันแบ่งวันละ 3 ครั้งถ้าแพ้ยากลุ่ม penicillin ให้กิน erythromycin 30-40 มก. / กก. / วันเมื่อกินยา 2 วันแล้วควรให้กลับมาตรวจอีกครั้งถ้าอาการดีขึ้นให้กินยาจนครบ 5-7 วัน
-
-
ASTHMA
- โรคหืดเป็นโรคที่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังของหลอดลมมีความไวของหลอดลมต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆมากกว่าปกติทำให้เกิดอาการและอาการแสดงจากการตีบของหลอดลมที่เกิดขึ้นที่ปอดทั่วไปทั้ง 2 ข้าง
อาการและแสดง
- ประวัติไอเรื้อรัง (ไอนานมากกว่า 8 สัปดาห์)
- การหายใจและได้ยินเสียงหวีด
- หายใจลำบากหรือแน่นหน้าอกอาการมักจะเป็นเวลากลางคืน
- asthma triads คือไอหายใจมีเสียงหวีดและอาการหอบฟังปอดได้ยินเสียง wheeze ในผู้ป่วยโรคหืดนั้นควรเป็นทั้ง 2 ข้างและควรเป็น expiratory wheezing และ polyphonic different pitch
•การวินิจฉัย ลักษณะทางคลินิกจากการซักประวัติการตรวจร่างกายทดสอบทางห้องปฏิบัติการ (การทดสอบสมรรถภาพปอด) ว่ามีหลักฐานของหลอดลมตีบชนิดที่ตอบสนองต่อยาพ่นขยายหลอดลม (reversible airflow obstruction)
การรักษา 1) ยาที่ใช้ควบคุมโรคหืด (controllers) ยาที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดคือยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด (inhaled corticosteroid หรือ ICS) 2) Drugs used to relieve asthma symptoms (relievers)
-
-