Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
6.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
Hypertensive crisis หรือ Hypertensive emergency หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงอย่างเฉียบพลันสูงกว่า 180/120 มม.ปรอท และทำให้เกิดการท าลายของอวัยวะเป้าหมาย (target organ damage, TOD)
สาเหตุ
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที (Sudden withdrawal of antihypertensive medications)
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง เช่น ยาคุมกำเนิด ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
อาการและอาการแสดง
อาการที่พบขึ้นอยู่กับ vascular injury และ end organ damage แบ่งเป็นตามระบบต่าง ๆ
Myocardial infarction
Unstable angina
Acute cardiovascular syndromes
Pulmonary edema
hypertensive encephalopathy จะมีอาการ ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
Aortic dissection
การซักประวัติ
การสูบบุหรี่
ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว
ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา ผลข้างเคียงของยาที่ใช้
ความดันโลหิตสูงขณะ ตั้งครรภ์ โรคอื่น ๆ ที่เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูง
ซักประวัติการเป็นโรคประจำตัว
สอบถามอาการของอวัยวะที่ถูกผลกระทบจากโรคความดันโลหิตสูง (target organ damage, TOD)
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา น้ำหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย เส้น รอบเอว รวมถึงตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
ตรวจจอประสาทตา ถ้าพบ Papilledema ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressure
ตรวจ retina ถ้าพบ cotton-wool spots and hemorrhages แสดงว่า มีการแตกของ retina blood vessels และ retina nerves ถูกทำลาย
Chest pain บอกอาการของ acute coronary syndrome or aortic dissection
อาการของ oliguria or azotemia (excess urea in the blood) แสดงถึงภาวะไตถูกทำลาย
pseudohypotension
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
Creatinine
Glomerular filtration rate (eGFR)
CBC
ค่าอัลบูมินในปัสสาวะ
ECG
chest X-ray
การรักษา
Hypertensive crisis ต้องให้การรักษาทันทีใน ICU และให้ยาลดความดันโลหิตชนิดหยดเข้าหลอดเลือดดำ
การพยาบาล
ในระหว่างได้รับยาประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ ได้แก่ neurologic, cardiac, and renal systems
Cardiac arrhythmias: Sustained AF, VT, VF
ภาวะช้อก ( Shock )
Acute Heart Failure ( AHF )