Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการควบคมุการติดเชื้อ, นางสาวชลธิดา ไชยปิน Section.B รหัส.…
การป้องกันและการควบคมุการติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
เชื้อก่อโรค (Infectious agent)
เชื้อรา
Candida albicans
Canduda glabrata
ไวรัส
เชื้อหัด
อีสุกอีใส
เริม
ไข้หวัดใหญ่
Corona Virus
โปรโตซัว
Entamoeba histolytica
พยาธิ
พยาธิเส้นด้าย
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
แบคทีเรีย
แบคทีเรียแกรมบวก
Staphylococcus aureus
แบคทีเรียแกรมลบ
Neisseria meningitidis
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค (Reservoir)
คน
สัตว์
พืช
ดิน
แมลงต่างๆ
ทางออกของเชื้อ
(Portal of exit)
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
สายสะดือของเด็กในครรภ์
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ (Mode of transmission)
การสัมผัส
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนำ
ทางเข้าของเชื้อ
(Portal of entry)
ทางเข้ามักเป็นทางเดียวกับทางออกของเชื้อ
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีกขาด
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล (Susceptible host)
ภูมิคุ้มกันของโรคต่ำ จะทำให้ติดเชื้อง่าย
การมีความต้านทานต่อการติดเชื้อได้ดี
การออกกำลังกาย
การพักผ่อนเพียงพอ
การรับประทานอาหารที่ถูกต้อง
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ภาวะโภชนาการ
การขาดสารอาหาร
ความอ่อนเพลีย
การพักผ่อนไม่เพียงพอ
อายุ
เด็กมีความไวต่อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่
เพศ
โรคต่างๆพบในแต่ละเพศไม่เท่ากัน
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่ำลง ต้านเชื้อได้น้อยลง ติดเชื้อได้ง่ายขึ้น
ความร้อนหรือเย็น
ร่างกายต้องปรับตัวกับอุณหภูมิมากขึ้น
กรรมพันธุ์
การขาดสาร Immunoglobulin
ความเครียด
ความเครียดทำให้เกิดการติดเชื้อง่ายขึ้น
อาชีพ
โอกาสของแต่ละอาชีพที่จะสัมผัสกับเชื้อแตกต่างกัน
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
การรับการรักษาด้วยการฉายรังสี
การติดเชื้อในโรงพยาบาล (Nosocomial infection)
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรค
เชื้อประจำถิ่น
เชื้อแบคทีเรียแกรมลบรูปแท่ง
สิ่งแวดล้อม
เครื่องมือเครื่องใช้
อาคาร สถานที่
การสัมผัสสิ่งต่างๆ
คน
ผู้ป่วย
บุคคลากรในโรงพยาบาล
เด็ก
ผู้สูงอายุ
ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ
การแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส (Contact transmission)
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง (Direct–contact transmission)
การสัมผัสตัวผู้ป่วยโดยตรง
การทำแผล
การอาบน้ำเช็ดตัวผู้ป่วย
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยอ้อม (Indirect–contact transmission)
การสัมผัสกับอุปกรณ์ต่างๆ
ลูกบิดประตู
ของเล่นในแผนกเด็กป่วย
ผ้าปูที่นอน
เครื่องช่วยหายใจ
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne transmission)
ฝุ่นละอองที่ลอยอยู่ในอากาศ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนำ (Vehicle transmission)
เลือด
อาหาร
น้ำ
ยา
สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำแก่ผู้ป่วย
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง (Droplet spread)
การไอ จาม พูด ร้องเพลง ของผู้ป่วย
การดูดเสมหะ
การตรวจหลอดลม
การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหะ
(Vector-Borne transmission
ยุง
แมลง
สัตว์นำโรค
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อ (Disinfection)
การต้ม
เป็นวิธีทำลายเชื้อที่ดีที่สุด ทำง่าย ประหยัด โดยต้มเดือด 20 นาที
การใช้สารเคมี
เป็นวิธีการทางเลือดสุดท้าย ถ้าไม่มีวิธีอื่น
การล้าง
ต้องระมัดระวัง โดยการสวมถุงมือยาง ผ้ากันเปื้อน แว่นป้องกันตา
ระดับการทำลายเชื้อ
การทำลายเชื้อระดับสูง (High-level disinfection)
ทำลายเชื้อก่อโรคทุกชนิดสามารถทำลายสปอร์ได้
Glutaraldehyde
Chlorine dioxide
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
การทำลายเชื้อระดับกลาง (Intermediate-level disinfection)
ทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อรา แต่ไม่สามารถทำลายสปอร์ได้
แอลกอฮอล์ (70-90% Ethanol หรือ Isopropanol)
Chlorine compounds
Phenolic
Iodophor
วิธีการพาสเจอร์ไรเซชั่น (Pasteurization)
การแช่อุปกรณ์ที่ล้างทำความสะอาดแล้วในน้ำที่มีอุณหภูมิ 65-77 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที
การทำลายเชื้อระดับต่ำ (Low-level disinfection
ทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราบางชนิด แต่ไม่สามารถทำลายเชื้อที่มีความคงทนได้
Quaternary ammonium compounds
Iodophors
Phenolic
การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
การทำแผล
ล้างแผลให้สะอาด Steriled normal saline
แผลสกปรก ใช้ หรือ Alcohol 70% หรือ Tr.iodine 2% หรือ Iodophor 10%
ถ้ามีหนองมาก ให้ทำ Wet dressing ด้วย Steriled normal saline ไม่ควรใช้น้ำยาฆ่าเชื้อทาในบาดแผลเพราะน้ำยาจะไปทำลายและขัดขวางการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ
การทำความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอดหรือก่อนการตรวจภายใน
ใช้ Cetrimide 15% + Chlorhexidine 1.5% เจือจาง 1:100
การเตรียมผิวหนัง
การผ่านตัดเล็ก ใช้ Alcohol 70% หรือ Tr.iodine 2%
การผ่าตัดใหญ่ ใช้การฟอกเป็นบริเวณกว้าง ด้วย Chlorhexidine 4% หรือ
Iodophor 7.5% เช็ดน้ํายาออก แล้วทาด้วย Alcohol 70% + Clorhexidine 0.5% หรือ Iodophor 10%
เพื่อการฉีดยา ใช้ Alcohol 70%
การสวนล้างช่องคลอด
ใช้ Cetrimide 15% + Chlorhexidine 1.5% เจือจาง 1:100
หรือ Chloroxylenol 1:100 หรือ 1:200
การล้างมือก่อนการทำหัตถการ
แปรงมือและแขนถึงข้อศอกให้ทั่วทุกซอกทุกมุมด้วย Chlorhexidine 4% หรือ Iodophor 7.5% เป็นเวลาอย่างน้อย 5 นาท
การทาช่องคลอดก่อนการผ่าตัด
ใช้ Iodophor 10%
การล้างมือธรรมดา
ใช้สบู่ก้อนหรือสบู่เหลว
ล้างมือหลังจากสัมผัสตัวผู้ป่วย
ฟอกมือด้วย Chlorhexidine 4% หรือ Iodophor 7.5%
ถูกมือทั้งสองข้างด้วยน้ำยาผสม Alcohol 70% + Chlorhexidine 0.5% ประมาณ 5-10 มิลลิลิตร จนน้ำยาแห้ง
การทำให้ปราศจากเชื้อ (Sterilization)
วิธีการทางกายภาพ (Physical method)
การใช้ความร้อน
(Thermal or Heat sterilization)
การเผา (Incineration)
ใช้ทำลายอุปกรณ์ที่จะไม่นำกลับมาใช้อีกต่อไป หรืออุปกรณ์ที่ปนเปื้อนจนไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้
การใช้ความร้อนแห้ง
(Dry heat)
ใช้เตาอบที่อุณหภูมิสูง 160-180 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1-2 ชั่วโมง เหมาะสำหรับอุปกรณ์ประเภทแก้ว และโลหะ
การต้ม (Boiling)
การต้มในน้ำเดือด 100 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที ทำลายเชื้อแบคทีเรียได้ทุกชนิดและเชื้อไวนัสเกือบทุกชนิด
การใช้ความร้อนชื้น
(Moist heat)
การนึ่งไอน้ำภายใต้ความดัน (Autoclave) เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ใช้ความดันและอุณหภูมิสูง จะใช้เวลาสั่นลง
การใช้รังสี
(Ionizing radiation)
รังสีแกรมมา (Gamma rays)
รังสีอุลตร้าไวโอเลท (Ultraviolet light: UV)
รังสีเอกซ์ (X-ray)
วิธีการทางเคมี
(Chemical method)
การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas (EO
นิยมมากที่สุด มีประสิทธิภาพสูงเหมาะสำหรับวัสดุที่ไม่สามารถทนความร้อนและความชื้นได้
ข้อเสีย คือ ใช้เวลานาน ค่าใช้จ่ายสูง อาจทำให้เกิดสารพิษตกค้างหากใช้บ่อยๆ
Formaldehyde
(Formalin)
ฟอร์มาลิน ทำลายเชื้อจุลชีพได้อย่างกว้างขวาง เนื่องจากไอน้ำจะช่วยให้ฟอร์มาลินสามารถซึมผ่านเข้าไปทำลายสปอร์ได้ดียิ่งขึ้น (อบร่วมกับไอน้ำ 3-5 ชั่วโมง)
การใช้ High-level disinfectant
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
Glutaraldehyde
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
Standard precautions
การล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อโรค (Hygienic hand washing) โดยการล้างมือด้วยน้ําสะอาดให้มือเปียกให้ทั่ว ฟอกด้วยน้ํายาทําลายเชื้อ (Antiseptic)อย่างน้อย 30 วินาที ล้างด้วยน้ําสะอาดจนหมดคราบน้ํายาทําลายเชื้อ เช็ดด้วยผ้าสะอาดหรือกระดาษ
การล้างมือก่อนทำหัตถการ (Surgical hand washing) โดยการล้างมือด้วยน้ําสะอาด และฟอกมือด้วยน้ํายา
ทําลายเชื้อที่มือจนถึงข้อศอก เป็นเวลา 2-6 นาท
การใช้ Alcohol hand rub ทดแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน หรือในบริเวณที่ไม่มีอ่างล้างมือ แต่ไม่ควรใช้ในกรณีที่มือเปื้อนสิ่งสกปรก
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing) 7 ขั้นตอน
สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งของผู้ป่วย
เสื้อคลุม
ใช้เมื่อจะสัมผัสกับสิ่งที่มีเชื้อโรค เช่น การอุ้มเด็กที่มีแผลพุพองตามลำตัว และเพื่อป้องกันเชื้อโรคแพร่สู่ผู้ป่วย
ผ้าปิดปากและจมูก
ใช้ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากปากและจมูกจากผู้สวมใส่สู่คนที่อยู่ใกล้เคียง และเพื่อป้องการกระเด็นของเลือดหรือละอองน้ำจากการผ่าตัด
ถุงมือ
ถุงมือปราศจากเชื้อ
(Sterile glove)
ใช้เมื่อหยิบ จับ เครื่องมือที่ปราศจากเชื้อ เมื่อจะทำหัตถการต่างๆ
ถุงมือสะอาด
(Non–sterile glove)
ใช้หยิบ จับ สิ่งสกปรก มีสารพิษ หรือมีเชื้อโรค การสัมผัสผู้ป่วยที่มีเชื้ออันตราย
หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
ทําความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธ
บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและการสัมผัสกับสารคดั หลั่ง
ทําความสะอาดและทําลายเชื้อ หรือทําให้ปราศจากเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ทุกชิ้นที่ใช้กับผู้ป่วยแล้ว
หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน โดยเฉพาะถูกเข็มที่ใช้กับผู้ป่วยตํา
Transmission-base precautions
วิธีการป้องกันการแพร่เชื้อ
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
(Airborne precautions)
อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรงหรือผ่านเครื่องกรองที่มีประสิทธิภาพ ห้องแยกควรมีการหมุนเวียนอากาศอย่างน้อย 6 รอบต่อชั่วโมง
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกัน
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ในกรณีความจําเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้องให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดใช้แล้วทิ้ง (Disposable mask)
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ (Isolation) และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูกน้ำลาย
(Dropletprecautions)
หากไม่มีห้องแยกและไม่สามารถจัดให้ผู้ป่วยอยู่รวมกันได้ ควรจัดระยะห่างระหว่างเตียง ไม่น้อยกว่า 3 ฟุต
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก เมื่อให้การดูแลผู้ป่วยในระยะ 3 ฟุต
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกัน
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจําเป็นควรให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดชนิดใช้
แล้วทิ้ง (Disposable mask)
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact precautions)
สวมเสื้อคลุม หากคาดว่าอาจสัมผัสเลือด สารคัดหลั่ง หนอง อุจจาระของผู้ป่วย
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจําเป็นต้องเคลื่อนย้าย ต้องระมัดระวังไม่ให้เกิด
การแปดเปื้อนเชื้อในสิ่งแวดล้อม
ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมน้ำยาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
หากสามารถทําได้ควรแยกอุปกรณ์ชนิด Non-critical items สําหรับผู้ป่วยโดยเฉพาะ หากไม่สามารถแยกอุปกรณ์ได้ต้องทําความสะอาดและทําลายเชื้อก่อนนําไปใช้กับผู้ป่วยรายอื่น
สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย และเปลี่ยนถุงมือคู่ใหม่เมื่อสัมผัสสิ่งคัดหลั่งหรือส่วนของร่างกายที่น่าจะมีเชื้อโรคจํานวนมากขณะให้การพยาบาลผู้ป่วยรายเดิม
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
การทําลายเชื้อและการทําให้ปราศจากเชื้อต้องกระทําอย่างถูกต้อง
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่ต่างๆ
การแยกขยะในโรงพยาบาล
ขยะทั่วไป แยกเป็นขยะแห้งและขยะเปียก ใส่ถุงสีดํา
ขยะเป็นพิษ
ขยะติดเชื้อ ใส่ถุงสีแดง
ขยะที่นํากลับไปใช้ใหม่ (Recycle) ใส่ถุงสีขาว
การทําลายขยะ
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การแยกผู้ป่วย
การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล
การกำจัดเชื้อโรค แหล่งของเชื้อโรค
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Nursing diagnosis)
การรวบรวมข้อมูลและนำมากำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนและให้การพยาบาล
(Planning and Implementation)
ใช้หลัก Airborne precautions
ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาลผู้ป่วย
ให้คําแนะนําการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยและญาต
รายงานอุบัติการณ์เฝ้าระวังการเกิดโรคต่อคณะกรรมการการติดเชื้อของโรงพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสู่ญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย (Assessment)
การซักประวัติ
การตรวจร่างกายเกี่ยวกับโรคของผู้ป่วย
การรักษาที่ได้รับ
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
นางสาวชลธิดา ไชยปิน Section.B รหัส. 6201210439