Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fetal distress - Coggle Diagram
Fetal distress
การรักษา
- เปลี่ยนท่านอนของมารดา เพราะอาจช่วยให้สายสะดือที่ถูกกดทับหลุดออกนอกจากนี้การนอนตะแคงจะช่วยทำให้ปริมาณการไหลเวียนของเลือด และ Cardiac oatput เพิ่มมากกว่าท่านอนหงาย
- ให้ Oxygen mask ในปริมาณ 6 – 10 ลิตร / นาที เพื่อช่วยลดภาวะ Fetal asphyxia
- บันทึกการเต้นของหัวใจทารกด้วยเครื่อง Monitor ตลอดเวลา
- ในกรณีที่มารดาได้รับ Oxygocin ควรหยุดการให้ทันที
- เจาะ Fetal scalp blood sampling เพื่อประเมินภาวะ Acidosis
- รีบทำคลอดตามความเหมาะสม ถ้าปากมดลูกเปิดเต็มที่และสามารถคลอดผ่านทางช่องคลอดได้ควรช่วยคลอดโดยการใช้คีมหรือเครื่องดูดสูญญากาศ (Forceps or Vacaum extraction) หรือในรายที่ทารกอยู่ในท่าก้น ควรช่วยคลอดโดยการทำ Breech extraction แต่ถ้าปากมดลูกยังเปิดไม่หมดควรช่วยโดยการผ่าตัดทารกออกทางหน้าท้องโดยเร็ว
สาเหตุ
มารดาBPต่ำ หรือช๊อคจากโรคหัวใจ มีภาวะซีดเป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ประสบกับภาวะทุพโภชนาการ หรือมีการขาดน้ำร่างกาย
-
-
-
-
มดลูกมีการหดรัดตัวที่รุนแรงมากผิดปกติ หรือเกิดจากการ
เสื่อมสภาพของหลอดเลือดบริเวณมดลูก (Vascular degeneration)
อาการและอาการแสดง
- มีขี้เทาปนออกมากับน้ำคร่ำในทากที่มีศีรษะเป็นส่วนนำ
- มีการเปลี่ยนแปลงของการเต้นของหัวใจทารก เช่น Late or Severe variable deceleration หรือเต้นไม่สม่ำเสมอ
- จากการตรวจ Fetal scalp blood sampling พบค่า pH ต่ ากว่า หรือเท่ากับ 7.20 ซึ่งถือว่ามีภาวะ Acidosis
- ทารกในครรภ์ดิ้นอย่างรุนแรงและมากขึ้น แสดงถึงภาวะ Acute fetal distress แต่ต่อมาทารกในครรภ์เริ่มดิ้นน้อยลง แสดงว่าเกิดภาวะ Chronic fetal distress
การวินิจฉัย
- การฟังเสียงหัวใจทารก (FHR)ถ้าอัตราการเต้นช้ากว่า 120 ครั้ง/นาที หรือเร็วกว่า 160 ครั้ง/นาที หรืออัตราการเต้นไม่สม่ำเสมอ
- การสังเกตลักษณะของน้ำคร่ำ ถ้ามีขี้เทาปนออกมาจะสังเกตเห็นว่าน้ำคร่ำมีสีเขียว บางครั้งจะมีลักษณะข้น
- การสังเกตการดิ้นของทารก สังเกต 1 ชั่วโมงหลังจากรับประทานอาหาร ถ้าทารกในครรภ์มีการดิ้นมากขึ้นและแรงขึ้นอย่างมันทีทันใด แสดงว่าอาจมีภาวะ Acute fetal distress แต่ถ้าพบว่าทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลงแสดงว่าทารกประสบภาวะ Chronic fetal distress
- การบันทึกการเต้นของหัวใจทารกด้วยเครื่อง Monitor
-
ผลกระทบ
มารดา
การเต้นของหัวใจที่ผิดปกติของทารกจะเพิ่มความเครียดและความวิตกกังวลให้กับมารดา จึงนับได้ว่าก่อให้เกิดปัญหาด้านจิตสังคมในระยะคลอดที่มารดาอาจจะต้องเผชิญ
ทารก
การได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเป็นเวลานาน จะนำไปสู่การเกิดความพิการของสมอง หรือมีพัฒนาการช้ากว่าปกติ หรือเป็นเด็กปัญญาก่อนในเวลาต่อมา
-