Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต, นางสาวธัญญารัตน์ …
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
สาเหตุ
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
อาการและอาการแสดง
กลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
กล้ามเนื้อหัวใจตาย MI
ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่
น้ำท่วมปอด
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า
การซักประวัติ
ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา
ผลข้างเคียงของยาที่ใช้
การสูบบุหรี่
ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว
ความดันโลหิตสูงขณะ ตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย
มีอาการ แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก
มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
ตรวจจอประสาทตา ถ้าพบ Papilledema
ตรวจ retina ถ้าพบ cotton-wool spots and hemorrhages
อาการของ oliguria or azotemia
คลำชีพจรที่แขนและขาทั้ง 2 ข้าง และวัดความดันโลหิตที่แขนทั้ง 2 ข้าง
การรักษา
ให้การรักษาทันทีใน ICU
ให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ไม่แนะนำให้ใช้ยา Nifedipine
การพยาบาล
เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ
ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
ไม่ควรลด SBP ลงมาต่ำกว่า 120 มม.ปรอท ความดันโลหิต
DBP ที่เหมาะสม คือ 70-79 มม.ปรอท
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษาเพื่อควบคุมความดันโลหิต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจการทำงานของไตจากค่า Creatinine และ (eGFR) และค่าอัลบูมินในปัสสาวะ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12-lead ECG) และ chest Xray
ส่งตรวจเอ๊กซเรย์คอมพิวเตอร์ ในรายที่สงสัยความผิดปกติของสมอง
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
ประเภทของ AF
Permanent AF หมายถึง AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF หมายถึง AF ที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Persistent AF หมายถึง AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้
ดัวยการรักษาด้วยยา หรือการช็อค ไฟฟ้า
Lone AF หมายถึง AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
Paroxysmal AF หมายถึง AF ที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา หรือการช็อคไฟฟ้า
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจรูห์มาติก ภาวะหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง เยื่อหุ้มหัวใจ อักเสบ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery), hyperthyrodism
อาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
Ventricular tachycardia (VT)
ประเภทของ VT
Sustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที ซึ่งมีผลทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตใน ร่างกายลดลง
Monomorphic VT คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Nonsustained VT คือ VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Polymorphic VT หรือ Torsade คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
พบบ่อยในผู้ป่วย (Myocardial infarction) (Rheumatic heart disease) ถูกไฟฟ้าดูด ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ (Digitalis toxicity) และ กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการแสดง
รู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
เกิด VT และคลำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียมในการทำ synchronized cardioversion
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว
เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ
เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้ (Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ทำการช็อกไฟฟ้าหัวใจ ในระหว่างเตรียมเครื่องให้ทำการกดหน้าอก
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที และเปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้ยาและสารน้ำ
Ventricular fibrillation (VF)
อาการแสดง
หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดโลหิตออกมาได้ และ เสียชีวิต
การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมและทำ CPR ทันที
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยว่ามียาชนิดใดที่มีผลต่อ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยงลดลง
. ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษาและเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำ synchronized cardioversion
ทำ CPR ร่วมกับทีมรักษาผู้ป่วย ในกรณีเกิด (lethal dysrhythmias)
Heart failure
ชนิดที่แบ่งตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Diastolic heart failure หรือ (HFPEF)
Systolic heart failure หรือ (HFREF)
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
Transient: หัวใจล้มเหลวที่มีอาการชั่วขณะ
Chronic: หัวใจล้มเหลวที่มีอาการเรื้อรัง
New onset: หัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นครั้งแรก
ชนิดที่แบ่งตามอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
Right sided-heart failure
Left sided-heart failure
ชนิดที่แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
Low-output heart failure
Acute heart failure
Chronic heart failure
High-output heart failure
สาเหตุ
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ (Valvular heart disease)
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ (Myocardial disease)
ความผิดปกติแต่กำเนิด (Congenital heart disease)
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ (coronary artery disease)
อาการแสดง
อาการเหนื่อย (Dyspnea)
Dependent part
อ่อนเพลีย (Fatigue)
แน่นท้อง ท้องอืด
อาการแสดงที่พบบ่อย
เสียงหัวใจผิดปกติโดยอาจตรวจพบเสียง S3 หรือ S4 gallop หรือ Cardiac murmur
เสียงปอดผิดปกติ (Lung crepitation)
หัวใจโต โดยตรวจพบว่ามี Apex beat หรือ (PMI)
ตับโต (Hepatomegaly) หรือน้ำในช่องท้อง (Ascites)
Jugular vein distention
Pitting edema
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia) หายใจเร็ว (Tachypnea)
การวินิจฉัย
Chest X-ray, CXR
electrocardiography
การตรวจเลือด : CBC, BUN, creatinine
Liver function test
Echocardiography
บทบาทพยาบาล
ไม่มีภาวะน้ำเกินหรือขาดน้ำ
ได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหตุ
อาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น
ได้รับการค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้อาการกำเริบ
Shock
การแบ่งประเภทของช็อก
Low cardiac output shock (Hypodynamic shock)
High cardiac output shock (Distributive shock, hyperdynamic shock)
Shock management
การรักษาจำเพาะ (Specific treatment) สำหรับภาวะช็อกแต่ละประเภท
การรักษาประคับประคอง (Supportive treatment)
Supportive treatment
ควรทำการเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
ควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย
Fluid therapy
Hypovolemic shock
Right side cardiogenic shock
Obstructive shock
Distributive shock
ตำแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ำ
ควรเลือกเส้นเลือดดำที่เป็น Peripheral vein
ให้สารน้ำทาง Central venous catheter
ใช้เวลานานกว่าไปถึงหัวใจ ทำให้สารน้ำที่ไปถึงหัวใจใกล้เคียงกับ
Core temperature
ควรใช้ขนาดเข็มที่ให้สารน้ำ No. 16 หรือ No. 18
่ใช้ในการ Resuscitation คือ Normal saline, Ringer's lactate solution, Ringer's acetate solution
การเลือกใช้ Vasoactive drugs ในช็อกประเภทต่างๆ
Septic shock : อาจให้ Dopamine หรือ Norepinephrine ควรเลือก Norepinephrine ก่อน Dopamine ถือเป็นข้อยกเว้นในผู้ป่วยที่ มีปัญหา Cardiac contractility
Endocrinologic shock :ควรให้สารน้ำและให้การรักษา ทดแทนทางฮอร์โมน หรือให้ยาต้านธัยรอยด์ใน Thyroid storm
Obstructive shock :ใช้ Dopamine หากความดันโลหิตต่ำมาก
อาจ เลือก Norepinephrine ได้
Anaphylactic shock เลือก Epinephrine (Adrenaline) ก่อนเสมอ
Cardiogenic shock :ควรเลือกใช้ Dopamine หากความดันโลหิตต่ำ มาก อาจเลือก Norepinephrine ได้
Neurogenic shock เลือก Dopamine ก่อน
Hypovolemic shock
นางสาวธัญญารัตน์ ศรีโชคสิทธิกุล 6001210118 เลขที่5 Sec.A