Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, น.ส.พลอยไพริน กิมเฮียะ 36/2 เลขที่ 3…
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
จำแนกประเภทของทารกแรกเกิด
จำแนกตามน้ำหนัก
Low birth weight infant (LBW infant)
Very low birth weight คือ น้ำหนักต่่ำกว่า 1,500 กรัม
Extremely low birth weight (ELBW) คือน้ำหนักต่ำกว่า 1,000 กรัม
Normal birth weight infant (NBW infant) : ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด 2,500 กรัม ถึงประมาณ3,800 – 4,000 กรัม
จำแนกตามอายุครรภ์
Preterm infant : ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
สาเหตุ / ปัจจัยส่งเสริม
มารดามีภาวะแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง รกลอกตัวก่อนก้าหนด
มารดาป่วยเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ไต ติดเชื้อ
ตั้งครรภ์แฝด มารดาติดยาเสพติด
เศรษฐานะไม่ดี
อายุน้อยกว่า 16 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
ลักษณะ
น้ำหนักน้อย รูปร่างรวมทั้งแขนขามีขนาดเล็ก ศีรษะจะมีขนาดใหญ่กว่าลำตัว
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น เห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนังได้ชัดเจน มักบวมตามมือและเท้า ไขมันคลุมตัว
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ เล็บมือเล็บเท้าอ่อนนิ่มและสั้น
ผิวหนังเหี่ยวย่นกล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครงยัง
เจริญไม่ดี กระดูกซี่โครงค่อนข้างอ่อนนิ่ม ขณะหายใจอาจถูกกระบังลมดึงรั้งเข้าไปเกิด
หายใจไม่สม่ำเสมอ มีการกลั้นหายใจเป็นระยะ เขียว และหยุดหายใจได้ง่าย
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี มีการเคลื่อนไหวน้อย การเคลื่อนไหว
สองข้างไม่พร้อมกัน และมักเป็นแบบกระตุก
เสียงร้องเบา และร้องน้อยกว่าทารกแรกเกิดครบกำหนด Reflex ต่าง ๆ มีน้อยหรือไม่มี
หัวนมมีขนาดเล็ก หรือมองไม่เห็นหัวนม
ท้องป่อง เพราะกล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
ขนาดของอวัยวะเพศค่อนข้างเล็ก ในเพศชายลูกอัณฑะยังไม่ลงในถุงอัณฑะ รอยย่นบริเวณถุง มีน้อย ในเพศหญิงเห็นแคมเล็กชัดเจน
ปัญหาที่พบ
การควบคุมอุณหภูมิ
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
อุณหภูมิ < 36.5 องศาเซลเซียส
ใบหน้าแดงผิวหนังเย็น เขียวคล้ำ หยุดหายใจ หายใจลำบาก ปลายมือปลายเท้าเย็น
ภาวะแทรกซ้อน : น้ำตาลในเลือดต่ำ ภาวะเลือดเป็นกรด ต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น น้ำหนักไม่ขึ้น ท้องอืด เลือดออกในโพรงสมอง เลือดออกในปอด ไตวาย DIC และ PPHN
การดูแล
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTE) 32 - 34 องศาเซลเซียส
วัดอุณภูมิเด็ก Body temperature เด็ก 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
ใช้ warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
หลีกเลี่ยงอยู่ใกล้แอร์ พัดลม ระวัง “Cold stress”
การพยาบาลทารกที่ได้รับการรักษาในตู้อบ
ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จำเป็น
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก 4 ทาง
วัดอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม.ปรับให้เหมาะกับสภาพทารก
เช็ดทำความสะอาดตู้ทุกวัน
การควบคุมอุณหภูมิทารกที่อยู่ใน Incubator
เป้าหมายให้อุณหภูมิกายทารกอยู่ในเกณฑ์ปรกติคือ 37 องศาเซลเซียส (+/-0.2 องศาเซลเซียส)
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่36 องศาเซลเซียส ปรับเพิ่มขึ้นครั้งละ 0.2 องศาเซลเซียส ทุก 15 – 30 นาที (max 38 องศาเซลเซียส)
ควรใส่ปรอทสำหรับวัดอุณหภูมิตู้อบ
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวารหนัก
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม.
ทารกครบกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซม.
ทางรักแร้
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 5 นาที
ทารกครบกำหนด วัดนาน 8 นาที
ปัญหาทางระบบทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
Respiratory Distress Syndrome(RDS)
ภาวะหายใจลำบากเนื่องจากการขาดสารลดแรงตึงผิว (surfactant) ของถุงลม
อาการและอาการแสดง
Dyspnea, หายใจเร็วกว่า 60 ครั ง/ นาที มีปีกจมูกบาน ,retraction ,หายใจมีเสียง Grunting, Cyanosis
ภาพถ่ายรังสีปอด มีลักษณะ ground glass appearance
ภาวะเลือดเป็นกรด
การป้องกัน
ควรได้antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนคลอด เพื่อกระตุ้นให้มีการสร้างสารลดแรงตึงผิว และปอดมีความสมบูรณ์มากขึ้น
Betamethazone 12 มิลลิกรัมทางกล้ามเนื้อทุก 24 ชั่วโมงจนครบ 2 ครั้ง
Dexamethazone 6 มิลลิกรัมทางกล้ามเนื้อทุก 12 ชั่วโมงจนครบ 4 ครั้ง
การป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด
การรักษา
การให้ออกซิเจน ตามความต้องการของทารก
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทำให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น
รักษาแบบประคับประคองตามอาการ
apnea of prematurity
central apnea ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกะบังลมจากศูนย์การหายใจที่ก้านสมองไม่ดี
obstruction apnea ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกะบังลมเกิดจากการงอหรือการเหยียดลำคอเกิน
สาเหตุ
Prematurity
Drug
Gastroesophageal reflux
Impaired oxygenation
Metabolic disorder
Infection
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
จัดท่านอนที่เหมาะสม ศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อย
สังเกตอาการขาดออกซิเจน
suction เมื่อจำเป็น ระวังสำลัก
ให้การพยาบาลทารกขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
Retinopathy of PrematurityRetinopathy(ROP)
ลักษณะสำคัญคือ การงอกผิดปกติของเส้นเลือด (neovascularization) บริเวณรอยต่อระหว่างจอประสาทตาที่มีเลือดไปเลียงและจอประสาทตา ที่ขาดเลือด
การวินิจฉัย
ต่ำแหน่ง (Zone) มี 3 zone Zone I ระยะวงกลมซึ่งมีรัศมีเป็นสองเท่าของระยะทางระหว่างขั้ว ประสาทตา(optic disc) และศูนย์กลาง จอประสาทตา (macula)โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ขั้วประสาทตา
ความรุนแรง
stage1 Demarcation line between vascularized and avascular retina
stage 2 Ridge between vascularized and avascular retina
stage 3 Ridge with extraretinal fibrovascular proliferation
stage 4 Subtotal retinal detachment: (a) extrafoveal detachment (b) foveal detachment
stage 5 Total retinal detachment
Term or mature infant : ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์ มากกว่า 37 สัปดาห์ ถึง 41 สัปดาห์
Posterm infant : ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
ปัญหาที่พบ(ต่อ)
ปัญหาการติดเชื้อ
ปัญหาระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis
ทั่วไป
การได้รับอาหารไม่เหมาะสม เร็วเกินไป
เป็นผลมาจากภาวะพร่องออกซิเจน
ลำไส้ขาดเลือดมาเลี้ยง
การย่อยและการดูดซึมไม่ดี
การพยาบาล
NPO
ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
แยกจากเด็กติดเชื้อ / แยกผู้ดูแล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก aseptic technique
เฝ้าระวังสังเกตภาวะติดเชื้อ เฝ้าระวังภาวะล้าไส้ทะลุ
ปัญหาระบบหัวใจ , เลือด
PDA (Patent Ductus
Ateriosus)
รักษา PDA โดยใช้ยา Indomethacin
ขนาดที่ให้ 0.1-0.2 มก./กก.ทุก 8 ชม. X 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้
BUN > 30 mg/dl , Cr > 1.8 mg/dl
Plt. < 60,000 /mm3
urine < 0.5 cc/Kg/hr นานกว่า 8 hr
มีภาวะ NEC
รักษา PDA โดยใช้ยา ibuprofen
ให้ทุก 12-24 ชั่วโมง จำนวน 3-4 ครั ง
ภาวะแทรกซ้อน NEC ไตวาย ไม่ให้ยาในทารกที่มี มากกว่า serum creatinine 1.6มิลลิกรัม/เดซิลิตรและ BUNมากกว่า20 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ปัญหาเลือดออกในช่องสมอง
IVH (Intra-ventricular Hemorrhage)
Hydrocephalus
ปัญหาทางโภชนาการและการดูดกลืน
ได่แก่ Hypoglycemia, NEC(Necrotizing Enterocolitis), GER(Gastroesophageal Reflux)
การพยาบาล
ให้อาหารอย่างเหมาะสมกับสภาพของทารก
gavage feeding (OG tube) ในเด็กเหนื่อยง่าย ดูดกลืนไม่ดี
IVF ให้ได้ตามแผนการรักษา
ระวังภาวะ NEC: observe อาการท้องอืด content ที่เหลือ
ประเมินการเจริญเติบโตชั่งน้ำหนักทุกวัน (เพิ่มวันละ 15-30กรัม)
ปัญหาพัฒนาการล้าช้า
ส่งเสริมสารสัมพันธ์พ่อแม่ลูก
Eye to eye contact
Skin to skin contact
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนด
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับปกติ(36.8 - 37.2 องศาเซลเซียส)
จัดให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ให้ทารกใช้ออกซิเจนและสารอาหารน้อยที่สุด
ป้องกันการสูญเสียความร้อน
ประเมินและสังเกตอุณหภูมิร่างกายของทารก
การดูแลด้านการหายใจให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ประเมินการหายใจ อัตรา การใช้แรง retraction สีผิว ปีกจมูกและการกลั้นหายใจ บ่อยครั้งตามอาการของทารก
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ขณะมีการกลั้นหายใจ ควรกระตุ้นโดยการเขี่ยหรือเขย่า
ดูแลให้ได้รับยา Theophylline ตามแผนการรักษาเพื่อลดอัตราการเกิดภาวะ Apnea
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก ป้องกันการเกิดcold stress
ให้ทารกได้พัก
การให้สารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ใน 1 –2 วันแรกหลังเกิดให้งดน้ำและนมให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้อาหารทางปาก
การให้นมแก่ทารก พยาบาลควรส่งเสริมให้ทารกได้รับนมมารดาให้มากที่สุด
ประเมินความสามารถในการรับนมได้ของทารก
หากแคลอรี่ที่ได้จากนมมารดาไม่เพียงพอ แพทย์มักจะให้เติมนมผง premature formula ลงในนมมารดา
หลีกเลี่ยงภาวะที่จะทำให้ทารกมีการใช้พลังงานในร่างกายมากกว่าปกติ
การป้องกันการติดเชื้อ
ล้างมือให้สะอาดด้วยน ้ายาฆ่าเชื้อโรคก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง
เครื่องมือและสิ่งของที่ใช้กับทารกต้องสะอาดหรือผ่านการทำลายเชื้อโรค
ดูแลความสะอาดร่างกายและสิ่งแวดล้อม
การป้องกันการเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ
ดูแลให้ทารกได้รับน้ำและนมทางปาก และ/หรือสารน้ำ สารอาหารทางหลอดเลือดด้า ตามแผนการรักษา
แก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดสาเหตุส่งเสริมให้มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ติดตามผล dextrostix หรือ blood sugar
การป้องกันการเกิดเลือดออกและโลหิตจาง
ดูแลให้ทารกได้รับการฉีด Vit K1 เข้ากล้ามเนื้อตามแผนการรักษา
ดูแลการได้รับ Vit. E และ FeSO4 ทางปากตามแผนการรักษา
ติดตามและรายงานผล CBC
ดูแลให้ทารกได้รับธาตุเหล็กตามแผนการรักษา
การคงไว้ซึ่งความสมดุลของน้ำ กรด-ด่าง และอิเลคโทรลัยต์
ดูแลการได้รับสารน้ำและอิเลคโทรลัยต์ให้เพียงพอตามแผนการรักษา
จดบันทึก Intake และ output
ติดตามผล blood gas BUN electrolyte urine specific gravity
การป้องกันการเกิดการแตกทำลายของผิวหนัง
การแกะพลาสเตอร์ จะต้องใช้ความระมัดระวังเป็นอย่างมาก
ระมัดระวังการรั่วของสารน้ำออกจากหลอดเลือดในรายที่ได้รับสารน้ำ
ระมัดระวังการใช้สารละลาย สารเคมี กับผิวหนังทารก
การป้องกันการเกิด Retinopathy of Prematurity (ROP)
ดูแลให้ทารกรับออกซิเจนเท่าที่จำเป็น
ดูแลให้ทารกได้รับยาวิตามินอีตามแผนการรักษา
ดูแลให้ทารกมีภาวะ ROP รุนแรงและอยู่ในเกณฑ์บ่งชี ให้ได้รับการรักษาโดย ใช้แสงเลเซอร์
การดูแลการได้รับวิตามินและเกลือแร่
การดูแลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของทารกแรกเกิด (Developmental care)
ดูแลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการ (Developmental care) การดูแลทารกแรก
เกิดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของระบบประสาทและพฤติกรรม
หลีกเลี่ยงการเหยียดแขนขา (extension) พยายามให้ทารกอยู่ในท่าแขน ขางอเข้าหากลางล้าตัว (flexion)
ห่อตัวทารกให้แขนงอ มือสองข้างอยู่ใกล้ๆ ปาก
จับต้องทารกเท่าที่จ้าเป็น, ให้การพยาบาลด้วยสัมผัสที่นุ่มนวล
จัดสภาพแวดล้อมในหอผู้ป่วยให้มีการกระตุ้นทางแสงและเสียงน้อยที่สุด
ถ้าทารกแสดงสื่อสัญญาณว่าอยากมีปฏิสัมพันธ์ พูดคุยด้วยเสียงเบา นุ่มนวล มองสบตา
ส่งเสริมสัมพันธภาพบิดามารดา-ทารก (bonding, attachment)
ส่งเสริม, กระตุ้นให้มารดามาเยี่ยมทารกให้เร็วที่สุด
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย การรักษาพยาบาลที่ทารกได้รับ
เปิดโอกาสให้บิดามารดาซักถาม ระบายความรู้สึก
ส่งเสริมการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (Hyperbilirubinemia)
แบ่งเป็น
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice)
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice)
สาเหตุ
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลง จากท่อน้ำดีอุดตัน การขาดเอนไซด์บางชนิดแต่กำเนิด
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้น : ทำให้เกิด kernicterus เข้าสู่เซลล์สมอง และสมองได้รับบาดเจ็บและมีการตายของเซลล์ประสาท ทำให้ทารกมีความพิการของสมอง
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
Breastfeeding jaundice
Breastmilk jaundice syndrome
การวินิจฉัย
ประวัติ มีบุคคลในครอบครัวมีโรคเม็ดเลือดแดงแตกง่ายหรือไม่
การตรวจร่างกาย ซีด เหลือง ตับ ม้ามโตหหรือไม่ มีจุดเลือดออก
ระดับบิลิรูบิน direct bilirubin indirect bilirubin
หมู่เลือด ABO Rh
Direct Coombs’test เพื่อดู blood group incompatibility
peripheral blood smear
Reticulocyte count
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
ภาวะแทรกซ้อน
Increases metabolic rate
Increased water loss / dehydration
Diarrhea
Retinal damage
Bronze baby หรือ tanning
Disturb of mother-infant interaction
Thermodynamic unstable
non-specific erythrematous rash
การพยาบาล
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา (eyes patches) เพื่อป้องกันการกระคายเคืองของแสงต่อตา
ถอดเสื้อผ้าทารกออกและจัดให้ทารกอยู่ในท่านอนหงาย หรือนอนคว่ำ
ดูแลให้ทารกได้นอนอยู่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟ
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก 2-4 ชม.
สังเกตลักษณะอุจจาระ
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลิรูบินในเลือดอย่างน้อยทุก 12 ชม.
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
การพยาบาล
อธิบายให้บิดามารดาทราบ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น
ในขณะเปลี่ยนถ่ายเลือดต้องบันทึกปริมาณเลือดเข้าออก ตรวจวัดสัญญาณชีพ
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
ภายหลังการเปลี่ยนถ่ายเลือดตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที ทุก 30 นาที จนกระทั่งคงที่
ปัญหาน้ำตาลในเลือดต่ำ
อาการแสดง : ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา อาการสั่น ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ ตัวอ่อนปวกเปียก อุณหภูมิกายต่้า ชักกระตุก
สาเหตุ
ไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จำกัด
มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์
การรักษา
ทารกครบกำหนดที่มีอาการ่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40 มก./ดล. ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
แรกเกิด-อายุ 4 ชั่วโมง ให้นมภายใน 1 ชั่วโมงแรก ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีหลังให้นม
มื้อแรกถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 25 มก/ดล. ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
อายุ 4-24 ชั่วโมง ให้นมทุก 2-3 ชั่วโมง ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมื้อนม ถ้าระดับน้ำตาลน้อยกว่า 35 มก/ดล. ให้นมและติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชั่วโมง
การดูแล
กรณีทารกเสี่ยงต่อระดับน้ำตาลในเลือด่ำ จะต้องตรวจหาระดับน้ำตาลภายใน 1-2 ชม.
กรณีที่มีน้ำตาลในเลือด่ำ ตรวจติดตามทุก 30 นาที
ควบคุมอุณหภูมิห้องและให้ความอบอุ่น
MAS
ภาวะตื่นตัวของทารกเมื่อ แรกเกิดเรียกว่า vigorous ได้จากการประเมินทารกโดยมีแรงหายใจด้วยตนเองได้ดี มีกำลังกล้ามเนือดีอัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
โดยปกติกลไกของร่างกายทารกในครรภ์จะ ป้องกันไม่ให้เกิดการถ่ายขี เทาออกมาปนในน้ำคร่ำขณะ ที่ทารกยังอยู่ในครรภ์มารดา การถ่ายขี้เทาออกมาปนในน้ำคร่ำขณะที่ทารกอยู่ในครรภ์
ลักษณะทางพยาธิสรีรวิทยาปกติที่เกิดจากการเคลื่อนตัวของลำไส้ที่พัฒนาสมบูรณ์แล้วของทารก
ลักษณะความผิดปกติทางพยาธิสภาพของรกและทารกในครรภ์ที่ตอบสนองต่อความเครียดที่เกิดจากความผิดปกติ
ความรุนแรง
อาการรุนแรงน้อย ทารกมีอาการหายใจเร็วระยะสั้นๆ
อาการรุนแรงปานกลาง อาการหายใจเร็วมีความรุนแรงมากขึ้น
อาการรุนแรงมาก ทารกจะมีระบบหายใจล้มเหลวทันที
การพยาบาล
เป้าหมายที่สำคัญเพื่อให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน
วัดความดันโลหิตทุก2- 4 ชั่วโมง เฝ้าระวังการเกิดความดันต่ำ
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
การดูแลที่จำเป็นสำหรับทารก
การควบคุมและการป้องกันการติดเชื้อ
การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม
ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
ดูแลภาวะน้ำหนักตัวแรกเกิดลด
ประเมินการแหวะนมและการอาเจียน
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
การดูแลทางโภชนาการ
น.ส.พลอยไพริน กิมเฮียะ 36/2 เลขที่ 3 (612001083)