Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวชและนิติจิตเวช, นางสาวศุภรัตน์ ตะโกเนียม…
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนิติเวชและนิติจิตเวช
กฎหมายเกี่ยวกับความผิดทางอาญาของบุคคลวิกลจริต
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 65
ผู้ใดกระทำความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้
ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสำหรับความผิดนั้น
ผู้ใดกระทำความผิดยังสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้าง หรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง
ผู้นั้นต้องรับโทษ
การพิจารณาความผิดทางอาญา
ไม่สามารถรู้ผิดชอบ
ไม่สามารถบังคับตนเองได้
ความสามารถในการต่อสู้คดี หรือวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายมาตรา 14
หลักการพิจารณาความสามารถในการต่อสู้คดี
สามารถเล่ารายละเอียดของคดีได้
สามารถเข้าใจขั้นตอนการดำเนินคดี
รู้ถึงความหนักเบาของโทษที่จะได้รับ
สามารถให้ปากคำต่อกระบวนการยุติธรรมได้
รู้ว่าตนเองต้องคดีอะไร
สามารถร่วมมือกับทนายในการปกป้องสิทธิตนเองได้
วิธีการเพื่อความปลอดภัย
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 48
ถ้าศาลเห็นว่าการปล่อยตัวผู้มีจิตบกพร่อง
ไม่ต้องรับโทษ หรือได้รับการลดโทษตามมาตรา 65
จะเป็นการไม่ปลอดภัยแก่ประชาชน
ศาลจะสั่งให้ส่งตัวไปควบคุมไว้ใน
สถานพยาบาล
ก็ได้ และคำสั่งนี้
ศาลจะเพิกถอนเสียเมื่อใดก็ได้
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 49
กรณีที่ศาลพิพากษาลงโทษ หรือพิพากษามีความผิด
ถ้าศาลเห็นว่าเป็นผู้ติดยาเสพติดให้โทษ
บุคคลนั้นจะต้องไม่เสพย์สุรายาเสพติด
วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ และการรอการลงโทษ
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 56
แนะนำ ช่วยเหลือ หรือตักเตือนตามที่เห็นสมควร
ให้ฝึกหัดหรือทางานอาชีพอันเป็นกิจลักษณะ
ให้ไปรายงานตัวต่อเจ้าพนักงานที่ศาลระบุไว้เป็นครั้งคราว
ให้ละเว้นการคบหาสมาคม
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 57
ผู้กระทำความผิด ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข
คดีก่อนบวกเข้ากับโทษในคดีหลัง
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 58
ผู้ที่ถูกศาลพิพากษาให้กระทำความผิด
ศาลพิพากษาให้ลงโทษจำคุกสำหรับความผิด
ความรับผิดชอบในทางอาญา
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 66
ความมึนเมาเพราะเสพย์สุรา หรือสิ่งเมาอย่างอื่น
จะยกขึ้นเป็นข้อแก้ตัวตามมาตรา 65 ไม่ได้ เว้นแต่ความมึนเมานั้นจะได้เกิดโดยผู้เสพย์ไม่รู้ว่าสิ่งนั้นจะทำให้มึนเมา
ผู้กระทำความผิดจึงจะได้รับยกเว้นโทษ
ถ้าผู้นั้นยังสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้าง หรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง
ศาลจะลงโทษน้อยกว่า
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา
246
ถ้าบุคคลซึ่งต้องคำพิพากษาให้ประหารชีวิต เกิดวิกลจริตก่อนประหารชีวิต ให้รอการประหารชีวิตไว้ก่อนจนกว่าผู้นั้นจะหาย
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา
248
เมื่อเกรงว่าจำเลยจะถึงอันตรายแก่ชีวิตถ้าต้องจำคุก
ถ้าจำเลยมีครรภ์แต่เจ็ดเดือนขึ้นไป
เมื่อจำเลยวิกลจริต
ถ้าจำเลยคลอดบุตรแล้วยังไม่ถึงเดือนในระหว่างทุเลาการบังคับอยู่นั้น
ความหมายเกี่ยวกับผู้ดูแล
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 373
ผู้ใดควบคุมดูแลบุคคลวิกลจริต ปล่อยปละละเลยให้บุคคลวิกลจริตนั้น อาจเที่ยวตามลาพังต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ป.พ.พ. มาตรา 29
บุคคลวิกลจริตผู้ใด
ถ้าภริยาสามีก็ดี ผู้บุพการี
ร้องขอต่อศาลแล้วศาลจะสั่งให้บุคคลผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถก็ได้ คำสั่งอันนี้ให้โฆษณาในราชกิจจานุเบกษา
ป.พ.พ. มาตรา 30
บุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถนั้น ท่านว่าต้องจัดให้อยู่ในความอนุบาล
ป.พ.พ. มาตรา 31
การใด ๆ อันบุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้ทำลงไปการนั้นท่านว่าเป็นโมฆียะ
ป.พ.พ. มาตรา 32
การใด ๆ อันบุคคลวิกลจริตได้ทำลง แต่หากบุคคลนั้นศาลยังมิได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
ป.พ.พ. มาตรา 429
บุคคลใดแม้ไร้ความสามารถเพราะเหตุเป็นผู้เยาว์หรือวิกลจริตก็ต้องรับผิดในผลที่ตนละเมิด
ป.พ.พ. มาตรา 430
ครูบาอาจารย์ นายจ้างหรือบุคคลอื่นซึ่งรับดูแลบุคคลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์ก็ดี ชั่วครั้งชั่วคราวก็ดี
กระบวนการเกี่ยวกับนิติจิตเวช
บุคคลที่สงสัยว่าวิกลจริต หรือมีปัญหาสุขภาพจิตขณะประกอบคดี
ถูกจับดำเนินคดี
ปล่อยตัวถ้าพิสูจน์ได้ว่าไม่ได้กระทำความคิด
มีหลักฐานว่ากระดำความผิด
งดสอบสวนหรือพิจารณาคดี
ตรวจวินิจตาม มาตรา 14
รักษาตามขั้นตอน
อาการทางจิตทุเลา
อาการทางจิตไม่ทุเลา
แจ้งผลการรักษาเป็นระยะ
อาการทางจิตทุเลา
ส่งกลับผู้นำส่งกระบวนการยุติธรรม
1 more item...
บทบาทของพยาบาลกับงานนิติจิตเวช
ใช้การสังเกต และการบันทึกอาการของผู้ป่วยอย่างละเอียด
ในกรณีที่บริษัทประกันร้องขอข้อมูลของผู้ป่วย พยาบาลต้องแจ้งให้แพทย์เจ้าของไข้ทราบ
เก็บข้อมูลของผู้ป่วยเป็นความลับ เว้นแต่เป็นเรื่องทางกฎหมาย
กรณีผู้ป่วยจิตเวช พยาบาลควรแจ้งให้แพทย์ทราบเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วยที่อาจก่อนให้เกิดอันตรายในอนาคต
บทบาทของพยาบาลกับการชันสูตรพลิกศพ
ในกรณีมีผู้ถูกสัตว์ทำร้ายตาย และตายโดยอุบัติเหตุ ถ้าแพทย์ตามมาตรา 150 วรรคหนึ่งมีเหตุจำเป็นไม่สามารถไปชันสูตรพลิกศพได้
กฎหมายได้กำหนดให้ต้องทำการชันสูตรพลิกศพในกรณีที่
การฆ่าตัวตาย (committed suicide)
ถูกสัตว์ทำร้ายตาย
ถูกผู้อื่นทำให้ตาย (homicide)
ตายโดยอุบัติเหตุ
ตายโดยยังมิปรากฏเหตุ
หลักการเขียนรายงานการชันสูตรพลิกศพ
เขียนรายงาน ณ ที่เกิดเหตุ
การตรวจชิ้นเนื้อ เพื่อดูพยาธิสภาพ
รายงานการผ่าศพชันสูตร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อดูสารในร่างกาย
การลงความเห็นในเรื่องเหตุ และพฤติการณ์ที่ตาย
หลักการเขียนรายงานการชันสูตรบาดแผล
ความเห็นเกี่ยวกับแผล
ข้อเท็จจริง
หลักการเก็บรักษาวัตถุพยาน
รวบรวมวัตถุพยานหรือสิ่งที่สงสัยว่าเป็นวัตถุพยาน
แยกหีบห่อ การบรรจุซอง เขียนรายละเอียด
ป้องกันการปลอมแปลงเจือปน หรือเสื่อมสภาพ
ส่งมอบวัตถุพยานด้วยความระมัดระวัง
การบันทึกอาการและอาการแสดง
บันทึกอย่างถูกต้อง ตรงตามความเป็นจริง
ต้องมีการสังเกตและบันทึกอาการ อาการแสดงเป็นระยะๆ
ในการบันทึกต้องระมัดระวังการใช้ภาษา
อย่าใช้อารมณ์ในการเขียน
ควรเขียนให้สื่อความหมายในแง่การรักษาและกรณีที่เป็นพยานเอกสาร
พึงระลึกไว้เสมอว่าบันทึกอาการ และอาการแสดงของผู้ป่วยเป็น
เอกสารลับ
นางสาวศุภรัตน์ ตะโกเนียม เลขที่ 49 รุ่น 36/2
รหัสนักศึกษา 612001130