Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
ทางออกของเชื้อ (Portal of exit)
เชื้อจุลชีพออกจากร่างกายของคนซึ่งเป็นโรคได้หลายทาง
ระบบสืบพันธุ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบทางเดินหายใจ
โดยเชื้อออกมาพร้อมน้ำมูก ลมหายใจ
เชื้อที่อยู่บนแผลที่ผิวหนัง
เชื้อจากมารดาสู่ทารกในครรภ์โดยผ่านทางสายสะดือ
แมลงกัดและดูดเลือดไปกัดผู้อื่น
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ (Mode of transmission)
เชื้อจุลชีพแต่ละชนิดมีวิธีการแพร่กระจายที่แตกต่างกัน
การแพร่กระจายโดยมีตัวนำ
การสัมผัส
การหายใจ
มีได้หลายทาง
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค (Reservoir)
เชื้อโรคแต่ละชนิดจะเจริญเติบโตได้ดีในแหล่งเชื้อโรคเฉพาะ
สัตว์
พืช
ดิน
คน
แมลงต่าง ๆ
เห็บ
หมัด
เหา
ตัวอย่าง
คน เป็นแหล่งเชื้อวัณโรค ไข้หวัดใหญ่ หัด ได้เป็นอย่างดี
ยุงเป็นแหล่งของเชื้อมาลาเรีย
คนหรือสัตว์ ที่มีเชื้อก่อโรคอยู่ในตัวและตนเองไม่เกิดโรค แต่สามารถแพร่กระจายเชื้อไปสู่คนอื่นได้เรียกว่า Carrier
เป็นที่ให้เชื้อโรคเจริญเติบโตและมีการขยายตัว
ทางเข้าของเชื้อ (Portal of entry)
เชื้อหาทางเข้าไปในร่างกายมนุษย์ใหม่(host)โดยมากทางเข้ามักเป็นทางเดียวกับที่ออกมา
ที่พบบ่อยๆ
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีดขาด
เชื้อก่อโรค (Infectious agent)
เชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อ ขึ้นอยู่กับความสามารถของเชื้อในการเพิ่มจำนวนและเจริญเติบโต (Virulence) ความสามารถในการรุกรานเข้าสู่เนื้อเยื่อของร่างกาย (Invasiveness) ความสามารถในการก่อโรค (Pathogenicity)
เชื้อก่อโรคแบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด
เชื้อรา
Candida albicans ทำให้เกิดกลาก เกลื้อน
ไวรัส
เริม
ไข้หวัดใหญ่
อีสุกอีใส
Corona virus
เชื้อหัด
โปรโตซัว
Entamoeba histolytica ทำให้เกิดโรคบิด
พยาธิ
พยาธิเส้นด้าย (พบมากในเด็ก)
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
แบคทีเรีย
แบคทีเรียทั้งกรัมบวก (Gram positive) และกรัมลบ (Gram negative)
Staphylococcus aureus
Clostridium difficile
Staphylococcus epidermidis
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล (Susceptible host)
บุคคลจะติดเชื้อง่ายหรือยากขึ้นอยู่กับลักษณะของเชื้อจุลชีพธรรมชาติของเนื้อเยื่อที่รับเชื้อ สุขภาพทั่วไปของแต่ละบุคคลภูมิคุ้มกันโรค
โดยธรรมชาติร่างกายมีกลไกและสิ่งที่จะต่อสู้กับจุลชีพที่มารุกรานอยู่แล้ว
มีผิวหนังป้องกันการรุกรานของจุลชีพ
ขนอ่อนในจมูก ช่วยกรองอากาศที่หายใจเข้าไป
มีขบวนการอักเสบ
มี Enzyme ที่ชื่อ Lysozyme ทำลาย Bacteria
มี Antibody ที่คอยต่อสู้กับสารติดเชื้อหรือพิษของมัน
หากร่างกายขาดสิ่งเหล่านี้ จะทำให้ง่ายต่อการติดเชื้อมากขึ้น
บุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรง จะทำให้บุคคลนั้นมีความต้านทานต่อการติดเชื้อได้ดี
มีภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง
มีการพักผ่อนและออกกำลังกายพอเพียง
หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย หรือเกิดความเครียด
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
คนที่มีอาการแพ้ต่าง ๆ หรือมีโรคเรื้อรัง มีความต้านทานต่ำกว่าคนปกติ
เพศ
โรคบางชนิดพบมากในแต่ละเพศไม่เท่ากัน
มักพบโรคปอดบวมในผู้ชายมากกว่า
พบโรคอีดำอีแดงในผู้หญิงมากกว่า
ความร้อนหรือเย็น
ความเย็นจัดเกินไป
ลดการเคลื่อนไหวของขนอ่อนในระบบทางเดินหายใจ
ลดจำนวนเลือดที่ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อพื้นผิว
กดการสร้างแอนติบอดี
ได้รับความร้อนหรือเย็นจัดจนเกินไปมีความไวต่อการติดเชื้อมากกว่า เนื่องจากร่างกายต้องปรับตัวต่อความร้อนหรือความเย็นมาก
กรรมพันธุ์
บางคนขาดสาร Immunoglobulin ซึ่งเป็นตัวการสำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย
ความอ่อนเพลีย
คนที่อ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอจะติดเชื้อง่ายกว่า มีความต้านทานต่อเชื้อโรคน้อยกว่า
คนที่ทำงานหนักเกินไป
อายุ
ในเด็กมีความไวต่อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากการสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกายไม่ได้ดีเท่าผู้ใหญ่
คนสูงอายุมีภูมิต้านทานน้อยกว่า อาจเนื่องจากร่างกายได้รับอาหารไม่พอเพียงและมีโรคเรื้อรังร่วมอยู่ด้วย
ภาวะโภชนาการ
บุคคลที่ได้รับอาหารครบถ้วนความไวต่อการติดเชื้อจะน้อยกว่าคนที่ขาดอาหาร
โปรตีน
ช่วยในการสร้างเนื้อเยื่อ
ช่วยให้เนื้อเยื่อเจริญเติบโต
คนที่ขาดอาหารมักติดโรคต่าง ๆ ได้ง่าย
วัณโรค
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
ทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
การฉายรังสี
มีการทำลายเนื้อเยื่อบริเวณนั้น ลดการสร้างเม็ดเลือดขาวและแอนติบอดี ทำให้ง่ายต่อการติดเชื้อ
ได้รับยาที่กดการสร้างภูมิคุ้มกัน
ความเครียด (Stress)
มีความไวต่อการติดเชื้อได้ง่าย
คนที่เพิ่งฟื้นจากการผ่าตัดใหม่ๆ ย่อมรับการติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนที่มีสุขภาพแข็งแรง
อาชีพ
บางอาชีพมีโอกาสที่จะสัมผัสกับเชื้อได้ง่าย หรือลดประสิทธิภาพของกลไกการป้องกันตนเอง
คนเลี้ยงนกพิราบมีโอกาสติดเชื้อไวรัส H1N1
การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อ (Disinfection)
สารเคมี
ใช้ทำลายเชื้อก่อโรคที่อยู่บนเครื่องมือหรือบนพื้นผิวต่างๆ
น้ำยาทำลายเชื้อ (Disinfectants)
ใช้ทำลายเชื้อที่ผิวหนังและเนื้อเยื่อของร่างกาย
Antiseptics
การทำลายเชื้อจะมีประสิทธิภาพเพียงใดขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ
เลือด
หนอง
ชนิดและจำนวนจุลชีพที่แปดเปื้อนอุปกรณ์
อุจจาระ
การกำจัดเชื้อจุลชีพบางชนิดที่แปดเปื้อนผิวหนัง อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้ทางการแพทย์ หรือพื้นผิต่างๆ โดยใช้สารเคมี หรือใช้วิธีการทางกายภาพ
การทำลายเชื้อ มีด้วยกันหลายวิธี
การต้ม
เป็นวิธีการทำลายเชื้อที่ดีที่สุด ทำง่าย ประหยัด และมีประสิทธิภาพดี
วิธีการต้มโดยทั่วไปแนะนำต้มเดือดนาน 20 นาที
การใช้สารเคมี
เป็นวิธีการสุดท้ายที่จะใช้ถ้าไม่มีวิธีอื่น เนื่องจากฤทธิ์ของ
การทำลายเชื้อของสารเคมีเปลี่ยนแปลงตามปัจจัยต่าง ๆ
เชื้อโรค (ชนิด ปริมาณ ความเข้มข้น อายุของน้ำยา อุณหภูมิ ความเป็นกรดด่าง)
การล้าง
ผู้ล้างต้องระมัดระวังมิให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ โดยการสวมถุงมือยาง ผ้ากันเปื้อน และแว่นป้องกันตา การจับของแหลมคมต้องระมัดระวังอย่าให้ถูกตำหรือบาดได้
การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
การเตรียมผิวหนัง
ผ่าตัดเล็กใช้ Alcohol 70% หรือ Tr.iodine 2%
ผ่าตัดใหญ่ใช้ฟอกให้เป็นบริเวณกว้างด้วย Chlorhexidine 4% หรือ Iodophor 7.5% เช็ดน้ำยาออก แล้วทาด้วย Alcohol 70% + Clorhexidine 0.5% หรือ Iodophor10%
เพื่อการฉีดยาใช้ Alcohol 70%
การทำแผล ล้างแผลให้สะอาดด้วย Steriled normal saline
แผลสกปรก
เช็ดผิวหนังรอบ ๆ แผลด้วย Alcohol 70% หรือ Tr.iodine 2% หรือ Iodophor 10%
มีหนองมาก
ให้ทำ Wet dressing ด้วย Steriled normal saline
ไม่ควรใช้น้ำยาฆ่าเชื้อทาในบาดแผลเพราะน้ำยาจะไปทำลายและขัดขวางการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ
การล้างมือก่อนทำหัตถการ (Surgical handwashing)
เช่น การผ่าตัด การทำคลอด
ถ้าเป็นการทำหัตถการครั้งแรกของวันให้แปรงมือและแขนถึงข้อศอกให้ทั่วทุกซอกทุกมุม ด้วย Chlorhexidine 4% หรือ Iodophor 7.5% เป็นเวลาอย่างน้อย 5 นาที ครั้งต่อไปฟอกมือให้ทั่วด้วยน้ำยาข้างต้นนาน 3 – 5 นาที
การทำความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอดหรือก่อนการตรวจภายใน
ใช้ Cetrimide15% + Chlorhexidine 1.5% เจือจาง 1:100
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
การล้างมือหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งของที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
การล้างมือก่อนสัมผัสผู้ป่วยภูมิคุ้มกันโรคต่ำ (Hygienic hand washing)
หรือ Iodophor 7.5%
หรือถูมือ 2 ข้างด้วยน้ำยาผสม Alcohol 70% + Chlorhexidine 0.5% ประมาณ 5-10 มิลลิลิตร จนน้ำยาแห้ง
ให้ฟอกมือด้วย Chlorhexidine 4%
ใช้สบู่ก้อนหรือสบู่เหลว
การสวนล้างช่องคลอด
ใช้ Cetrimide 15% + Chlorhexidine 1.5% เจือจาง 1:100 หรือ Chloroxylenol 1:100 หรือ 1:200
การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัด
ใช้ Iodophor 10%
ระดับการทำลายเชื้อ
ระดับกลาง (Intermediate-level disinfection)
สามารถทำให้เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราอ่อนกำลังลงจนไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์แต่ไม่สามารถทำลาสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียได้
น้ำยาทำลายเชื้อในกลุ่มนี้
Phenolic
Iodophor
Chlorine compounds
วิธีการพาสเจอร์ไรเซชั่น (Pasteurization)
เป็นการทำลายเชื้อโดยวิธีทางกายภาพ โดยแช่อุปกรณ์ที่ล้างทำความสะอาดแล้วในน้ำที่มีอุณหภูมิ 65-77 องศเซลเซียสเป็นเวลา 30 นาที
แก่ แอลกอฮอล์ (70-90% Ethanol หรือ Isopropanol)
ระดับต่ำ (Low-level disinfection)
วิธีนี้เหมาะสำหรับอุปกรณ์ประเภท Noncritical items
เป็นอุปกรณ์ที่สัมผัสกับผิวหนังปกติ ผิวหนังที่ไม่มีบาดแผลหรือไม่มีรอยถลอก และไม่ได้สัมผัสกับเยื่อบุของร่างกาย
เครื่องวัดความดันโลหิต
โต๊ะข้างเตียง
ราวกั้นเตียง
หม้อนอน
น้ำยาทำลายเชื้อในกลุ่มนี้
Iodophors
Phenolic
Quaternary ammonium compounds
สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราบางชนิด แต่ไม่สามารถทำลายเชื้อที่มีความคงทน เช่น Tuberculosis bacilli หรือสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียได้
ระดับสูง (High-level disinfection)
นํ้ายาทําลายเชื้อในกลุ่มนี้สามารถทําลายเชื้อในอุปกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพในเวลารวดเร็ว
ฤทธิ์ในการทำลายสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียของน้ำยาประเภทนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของน้ำยาและวิธีการใช้
ทำลายจุลชีพก่อโรคได้ทุกชนิด รวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรีย
น้ำยาทำลายเชื้อที่มีคุณสมบัติในการทำลายเชื้อระดับสูง
Chlorine dioxide
Hydrogen peroxide
Glutaraldehyde
Peracetic acid
การทำให้ปราศจากเชื้อ (Sterilization)
อุปกรณ์ที่ต้องผ่านเข้าสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่ปราศจากเชื้อ กระแสเลือดหรือเนื้อเยื่อ
เข็มฉีดยา
สารน้ำที่ใช้ฉีดเข้าเส้นเลือด
เครื่องมือผ่าตัด
อุปกรณ์ที่ใช้ในการวินิจฉัยโรคที่ต้องสัมผัสกับเยื่อบุของร่างกายในระบบทางเดินปัสสาวะหรือช่องท้อง
การเลือกวิธีการทำให้ปราศจากเชื้อขึ้นอยู่กับลักษณะและประเภทของอุปกรณ์ทีต้องการทำให้ปราศจากเชื้อ และระยะเวลาที่ใช้ในการทำลายสปอร์ของเชื้อแบคทีเรีย
กระบวนการในการทำลายหรือขจัดเชื้อจุลชีพทุกชนิดรวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียจากเครื่องมือทางการแพทย์
วิธีการทำให้อุปกรณ์ปราศจากเชื้อแบ่งออกได้เป็น 2 วิธีใหญ่ ๆ
ทางกายภาพ (Physical method)
การใช้ความร้อน (Thermal or Heat sterilization)
ทั่วไปเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นระยะเวลาที่ใช้ในการทำให้ปราศจากเชื้อจะสั้นลง
วิธีการทำให้อุปกรณ์ปราศจากเชื้อด้วยวิธีนี้
การใช้ความร้อนแห้ง (Dry heat)
จะบรรจุอุปกรณ์ในเตาอบโดยใช้อุณหภูมิสูง 160-180 องศาเซลเซียสเป็นเวลานาน 1-2 ชั่วโมง
เหมาะสำหรับอุปกรณ์ประเภทแก้วและโลหะ
การต้ม (Boiling)
การต้มในน้ำเดือด 100 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที
วิธีนี้จึงไม่ใช่วิธีการทำให้ปราศจากเชื้อที่เชื่อถือได้แน่นอน
สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรียได้ทุกชนิดและเชื้อไวรัสได้เกือบทุกชนิด แต่สปอร์ของเชื้อแบคทีเรียบางชนิดสามารถทนต่อการต้มเป็นเวลานานได้
การเผา (Incineration)
ใช้ในการทำลายอุปกรณ์ที่จะไม่นำกลับมาใช้อีกต่อไป
หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนมากจนไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่
การใช้ความร้อนชื้น (Moist heat)
การนึ่งไอน้ำภายใต้ความดัน (Autoclave)
เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพที่สุด
โดยระยะเวลาที่นึ่งจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและความดัน
1 more item...
เป็นวิธีที่ปฏิบัติได้ง่ายและมีประสิทธิภาพสูงสุด
การใช้รังสี (Ionizing radiation)
วิธีนี้จึงไม่จัดว่าเป็นการทำให้ปราศจากเชื้อที่แท้จริง
รังสีอุลตร้าไวโอเลท (Ultraviolet light: UV)
สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรียได้หลายชนิด แต่การแทรกซึมเข้าสู่อุปกรณ์ไม่ดี
การทำให้ปราศจากเชื้อด้วยวิธีนี้อย่างมีประสิทธิภาพจะต้องให้รังสีสัมผัสโดยตรงกับเชื้อจุลชีพ
การใช้รังสีคลื่นสั้นในการทำให้อุปกรณ์ปราศจากเชื้อ เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพ
รังสีเอกซ์ (X-ray)
รังสีแกมมา (Gamma rays)
รังสี UV
อาจช่วยลดจำนวนเชื้อก่อโรคที่มีอยู่ในอากาศในห้องผ่าตัด และในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยาได้
แต่ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง
ทางเคมี (Chemical method)
การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas (EO)
มีประสิทธิภาพสูงและเหมาะสำหรับวัสดุที่ไม่สามารถทนความร้อนและความชื้นได้
เช่น
เครื่องไฟฟ้า
มีดไฟฟ้า
หัวจี้ให้เลือดหยุด
สายสวนต่างๆ
cardiaccatheters
fiber optic scopes
อวัยวะเทียม
ลิ้นหัวใจ
เครื่องมือทางจักษุวิทยา
เป็นวิธีทำให้ปราศจากเชื้อที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน
Formaldehyde
มีฤทธิ์ทำลายเชื้อจุลชีพได้อย่างกว้างขวาง
สามารถอบให้ปราศจากเชื้อได้ภายใน 6-12 ชั่วโมง
ที่ความเข้มข้น 37% หรือที่เรียกว่า ฟอร์มาลิน (Formalin)
ถ้าเป็นสปอร์ของแบคทีเรียต้องใช้เวลานาน 2-4 วัน
ถ้าใช้อบร่วมกับไอน้ำ (Sub-atmospheric steam)
ช่วยให้ประสิทธิภาพในการทำลายเชื้อสูงขึ้น
ใช้เวลาสั้นลงเป็น 3-5 ชั่วโมง
ไอน้ำจะช่วยให้ฟอร์มาลีนสามารถซึมผ่านเข้าไปทำลายสปอร์ได้ดียิ่งขึ้น
การใช้ High-level disinfectant
ห่ออุปกรณ์ที่ผ่านการทำให้ปราศจากเชื้อแล้วจะมีระยะเวลาในการคงสภาพปราศจากเชื้อ หรือที่เรียกว่า Shelf life
Shelf life ได้นานเท่าใดนั้นขึ้นอยู่กับชนิดและความหนาของวัสดุที่ใช้ห่ออุปกรณ์ การผนึกห่อ อุปกรณ์ การหยิบจับหรือเคลื่อนย้ายห่ออุปกรณ์ และสภาพแวดล้อมที่วางห่ออุปกรณ์
ได้แก่
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
Glutaraldehyde
วันหมดอายุที่ระบุไว้บนห่ออุปกรณ์เป็นระยะเวลาที่ห่ออุปกรณ์คงสภาพปราศจากเชื้อเมื่อเก็บในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ดังนั้นการเก็บห่ออุปกรณ์ปราศจากเชื้อต้องเก็บอย่างถูกต้องและใช้ในเวลาที่กำหนด
ก่อนนำมาใช้ควรตรวจดูว่ากระดาษ พลาสติก หรือผ้าที่ห่อนั้นหลุดหรือชำรุดหรือไม่ ถ้าชำรุดอาจมีเชื้อปนเปื้อนวัสดุภายในได้
วิธีการเก็บรักษาที่ดี
เก็บไว้ในที่แห้ง ห่างจากอ่างล้างมือหรือบริเวณที่เปียกชื้น
เก็บไว้ในปริมาณพอเหมาะ พอใช้ ไม่ควรสะสมไว้มากเกินไป
เก็บไว้ในตู้มีฝาปิดมิดชิด ไม่มีแมลงหรือสัตว์เข้าไปรบกวน
วัสดุปราศจากเชื้อห่อพลาสติกหรือกระดาษ ไม่ควรเอายางรัดเพราะจะทำให้วัสดุห่อหุ้มฉีกขาด
วัสดุที่ห่อและทำให้ปราศจากเชื้อในสถานพยาบาล ต้องใช้ในกำหนดเวลา หากห่ออุปกรณ์หมดอายุจะต้องนำกลับไปห่อใหม่และทำให้ปราศจากเชื้ออีกครั้งก่อนนำไปใช้
ระยะเวลาเก็บอุปกรณ์ที่ผ่านการทำให้ปราศจากเชื้อ เมื่อเก็บในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมคือ อุณหภูมิ 18-22 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 35-70% และไม่มีลมผัดผ่าน จะสามารถเก็บได้นานที่สุด
การเก็บรักษาห่ออุปกรณ์ที่ผ่านกระบวนการทำให้ปราศจากเชื้อ
ห่อด้วยผ้าลินิน และหลังจากผ่านการทำให้ปราศจากเชื้อแล้วบรรจุในถุงพลาสติกปิดด้วยความร้อนเพื่อป้องกันฝุ่น
เก็บได้นานสุด 9 เดือน
ห่อด้วยผ้าลินิน และหลังจากผ่านการทำให้ปราศจากเชื้อแล้วบรรจุในถุงพลาสติกปิดด้วยเทป
เก็บได้นานสุด 3 เดือน
ห่อด้วยผ้าลินิน 2 ชั้น
เก็บได้นานสุด 7 สัปดาห์
ห่อด้วยกระดาษ
เก็บได้นานสุด 8 สัปดาห์
ห่อด้วย Plastic-paper ปิดด้วยความร้อน
เก็บได้นานสุด 1 ปี
Plastic films ปิดด้วยเทป
เก็บได้นานสุด 3 เดือน
Plastic films ปิดด้วยความร้อน
เก็บได้นานสุด 1 ปี
ดังนั้น ห่อวัสดุปราศจากเชื้อทุกห่อต้องเขียน วัน เดือน ปี ที่ได้รับการทำให้ปราศจากเชื้อและวันหมดอายุด้วยเมื่อหมดอายุแล้วต้องห่อใหม่แล้วนำไปทำให้ปราศจากเชื้ออีกครั้งก่อนใช้ (Resterilization)
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรค
เชื้อก่อโรคเหล่านี้เป็นเชื้อที่อยู่ในโรงพยาบาล จึงมีอัตราดื้อต่อยาปฏิชีวนะในอัตราสูง เนื่องจากเป็นเชื้อที่เคยสัมผัสกับยาต้านจุลชีพมาก่อน
เชื้อ MRSA
Pseudomonas aeruginosa
เชื้อประจำถิ่น หรือเชื้อที่พบบนร่างกายผู้ป่วยเอง (Normalflora หรือ Colonization)
ประเทศไทยเชื้อก่อโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่พบมากที่สุด
เชื้อแบคทีเรียกรัมลบทรงแท่ง (Gram negative bacilli)
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมผู้ป่วยในโรงพยาบาลครอบคลุมถึง อาคาร สถานที่ เครื่องมือเครื่องใช้ บุคลากรในโรงพยาบาล และญาติที่มาเยี่ยม
อนาคตเครื่องมือทางการแพทย์ที่ใช้ตรวจหรือรักษาโดยการสอดใส่เข้าร่างกายผู้ป่วยจะมีมากขึ้น การใช้เครื่องมือเหล่านี้จะเอื้อให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ง่าย ผู้ป่วยจึงมีโอกาสติดเชื้อสูง
คน/ผู้ป่วย(Host)
ความแข็งแรงหรือภูมิต้านทานโรคเป็นปัจจัยสำคัญ
โรคติดเชื้อในโรงพยาบาลจะพบได้มากในผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำ
เด็กเล็กที่มีภูมิต้านทานยังพัฒนาไม่เต็มที่
ผู้สูงอายุ
การแพร่กระจายเชื้อ
ทางอากาศ (Airborne transmission)
เชื้อจุลชีพจะอยู่ในรูปของdroplet nuclei (มีขนาดเล็กกว่า droplet ซึ่งเกิดจากการไอจาม) หรือฝุ่นล่องลอยอยู่ในอากาศ
เชื้อจุลชีพที่แพร่กระจายโดยวิธีนี้
เชื้อสุกใส
เชื้อวัณโรค
งูสวัด
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยการสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
โดยการผ่านสื่อนำ (Vehicle transmission)
ทำให้เกิดการติดเชื้อในผู้ป่วยหลายราย
การเกิดการติดเชื้อ salmonella จากอาหาร
เชื้อจุลชีพปนเปื้อนอยู่ในเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหาร น้ำ ยา สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำแก่ผู้ป่วย
โดยฝอยละออง (Droplet spread)
มักเกิดขึ้นในระยะไม่เกิน 3 ฟุต
ฝอยละอองอาจเกิดขึ้นขณะที่ผู้ป่วย
จาม
พูด
ไอ
ร้องเพลง
การให้กิจกรรมการรักษาพยาบาล
การดูดเสมหะ
การตรวจหลอดลม
เกิดจากการสัมผัสกับฝอยละอองน้ำมูกน้ำลายที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน
โดยสัตว์พาหนะ (Vector-Borne transmission)
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยแมลง หรือสัตว์นำโรค คนได้รับเชื้อจากการถูกแมลงหรือสัตว์กัด และเชื้อที่มีอยู่ในตัวแมลงถูกถ่ายทอดสู่คน
ถูกยุงที่มีเชื้อมาลาเรียกัด
แมลงวันเกาะขยะแล้วมาเกาะอาหาร
การถูกยุงที่มีไวรัสเด็งกี่กัด
โดยการสัมผัส (Contact transmission)
การแพร่กระจายเชื้อโดยวิธีนี้มักเกิดขึ้นระหว่างการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย
โดยเชื้อจุลชีพแพร่กระจายจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง (Cross infection) ได้ 2 วิธี
โดยตรง (Direct–contact transmission)
เป็นการแพร่กระจายเชื้อที่มีการสัมผัสกันโดยตรงระหว่างคนต่อคน
เกิดจากการที่มือไปสัมผัสแหล่งโรคแล้วสัมผัสผู้ป่วย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งมือของบุคลากรผู้ให้การพยาบาลผู้ป่วย
การอาบน้ำเช็ดตัวผู้ป่วย
การทำแผล
การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย
โดยอ้อม (Indirect–contact transmission)
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสกับสิ่งของหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อก่อโรค
ลูกบิดประตู
ผ้าปูที่นอน
ของเล่นในแผนกเด็กป่วย
เครื่องช่วยหายใจ
การแพร่กระจายเชื้อด้วยวิธีการสัมผัสระหว่างเชื้อก่อโรคกับบุคคลที่ไวต่อการติดเชื้อ
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
สามารถทำได้หลายวิธี
การแยกผู้ป่วย
การทำความสะอาดมือ
การทำลายเชื้อบนวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ด้วยวิธีการที่เหมาะสม
ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้นำเสนอวิธีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาลและสถานบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
Standard precautions
ใช้กับผู้ป่วยทุกรายที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลไม่ว่าผู้ป่วยจะมีการติดเชื้อหรือไม่ หรือได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยเป็นโรคใด
การปฏิบัติตามหลัก Standard precautions
สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
การใช้เครื่องป้องกันร่างกายน้อยเกินไป ไม่สวมใส่ในกิจกรรมที่ควรใส่
เกิดอันตรายจากการสัมผัสเชื้อหรือสารพิษ
การใช้เครื่องป้องกันร่างกายมากเกินไป
ทำให้สิ้นเปลือง และเสียเวลาทำงานไม่ถนัด นอกจากนี้อาจเป็นการแพร่เชื้อโรคได้
ใช้เมื่อจำเป็นในกรณีที่มีข้อบ่งชี้เท่านั้นและเมื่อหมดกิจกรรมนั้นแล้วให้ถอดเครื่องป้องกันร่างกายนั้นออก
รายละเอียดการใช้เครื่องป้องกันร่างกายแต่ละชนิด
ผ้าปิดปากและจมูก
บางกรณีผ้าปิดปากและจมูก ก็สามารถช่วยลดละอองน้ำหรือเลือดที่กระเด็นในขณะทำการผ่าตัดมิให้มาสัมผัสกับปาก จมูกได้
ใช้ป้องกันการแพร่เชื้อจากจมูกและปากจากผู้สวมสู่คนที่อยู่ใกล้เคียง
เสื้อคลุม
และเพื่อป้องกันเชื้อโรคแพร่สู่ผู้ป่วย
ทำคลอด
หอบริบาลทารกแรกเกิด
การทำผ่าตัด
หออภิบาลผู้ป่วยถูกไฟไหม้น้ำร้อนลวก
ใช้เมื่อจะสัมผัสกับสิ่งที่มีเชื้อโรค
การอุ้มเด็กที่มีแผลพุพองตามลำตัว
ถุงมือ
ถุงมือปราศจากเชื้อ (Sterile glove)
ใช้กับการปฏิบัติการพยาบาลที่ต้องใช้วิธีการสอดใส่วัตถุเข้าไปในร่างกาย(Invasiveprocedure)เช่น การสวนปัสสาวะการผ่าตัดการสัมผัสกับบริเวณที่ปราศจากเชื้อจากร่างกายและการทําคลอด
2 more items...
วิธีปฏิบัติในการใช้ถุงมือปราศจากเชื้อ
2 more items...
ถุงมือสะอาด (Non–sterile glove)
ใช้เมื่อจะหยิบ จับ สิ่งของสกปรก น่ารังเกียจ มีสารพิษ หรือมีเชื้อโรคการจับต้องผู้ป่วยหรืออวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของผู้ป่วยที่มีหรือคาดว่าจะมีเชื้อโรคอันตราย การหยิบ จับ ล้าง วัสดุ หรือสถานที่สกปรก หรือมีเชื้อโรค (ให้ใช้ถุงมืออย่างหนา)
วิธีการปฏิบัติในการใส่และถอดถุงมือสะอาด
4 more items...
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
ประเภทการล้างมือ
การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อโรค (Hygienic hand washing)
โดยการล้างมือด้วยน้ำสะอาดให้มือเปียกให้ทั่ว ฟอกด้วยน้ำยาทำลายเชื้อ (Antiseptic) อย่างน้อย 30 วินาที ล้างด้วยน้ำสะอาดจนหมดคราบน้ำยาทำลายเชื้อ เช็ดด้วยผ้าสะอาดหรือกระดาษ
น้ำยาทำลายเชื้อ (Antiseptic)
Hibiscrub
Providine scrub
เป็นการล้างมือเพื่อขจัดเชื้อจุลชีพที่อยู่ชั่วคราวบนมือก่อนปฏิบัติการรักษาพยาบาลที่ใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ (โดยเฉพาะหัตถการที่ต้องมีการเปิดใช้ Sterile set)
การล้างมือก่อนทำหัตถการ (Surgical hand washing)
โดยการล้างมือด้วยน้ำสะอาด และฟอกมือด้วยน้ำยาทำลายเชื้อที่มือจนถึงข้อศอก เป็นเวลา 2-6 นาที (ขึ้นอยู่กับคำแนะนำของบริษัทผู้ผลิตน้ำยา)
การฟอกมือครั้งแรกของแต่ละวันให้ใช้แปรงขัดปลายนิ้วและซอกเล็บ แล้วล้างด้วยน้ำสะอาดจนหมดคราบน้ำยาทำลายเชื้อและรอจนกระทั่งมือแห้งจึงสวมถุงมือผ่าตัด
เป็นการล้างมือเพื่อขจัดหรือทำลายเชื้อหรือทำลายจุลชีพซึ่งอยู่ชั่วคราวบนมือ และลดจำนวนจุลชีพประจำถิ่นบนมือเพื่อเตรียมหัตถการ
การผ่าตัด
การทำคลอด
การล้างมือธรรมดา (Normal hand washing)
โดยถูมือทั้งสองข้างให้ทั่วถึงทุกด้าน นานอย่างน้อย 10 วินาที แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาดซับให้แห้งด้วยผ้าเช็ดมือที่แห้งสะอาด
เช่น
การล้างมือก่อนและหลังการรับประทานอาหาร
ก่อนและหลังแจกยา
เป็นการล้างมือเพื่อขจัดสิ่งเปรอะเปื้อน ฝุ่นละอองเหงื่อไคลบนมือ เพื่อให้มือสะอาดโดยการฟอกมือด้วยน้ำกับสบู่
ปัจจุบันการล้างมือมีวิธีการ 7 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 3 ฝ่ามือถูฝ่ามือและกางนิ้วมือ เพื่อถูง่ามนิ้วมือ
ขั้นตอนที่ 4 มือสองข้างจับล็อคกัน ให้ฝ่ามืออีกข้างถูหลังนิ้วมือและนิ้วมือถูนิ้วมือ
ขั้นตอนที่ 5 ฟอกหัวแม่มือโดยรอบ ด้วยฝ่ามือ
ขั้นตอนที่ 6 ใช้ปลายนิ้วมือถูฝ่ามือทำสลับกันทั้ง 2 ข้าง
ขั้นตอนที่ 7 ถูรอบข้อมือทั้ง 2 ข้าง
ขั้นตอนที่ 2 ฝ่ามือถูหลังมือและกางนิ้วมือ เพื่อถูง่ามนิ้วมือ
ขั้นตอนที่ 1 เปิดน้ำให้ราดมือทั้งสองข้าง ฟอกด้วยสบู่ให้ทั่วมือ โดยหันฝ่ามือถูฝ่ามือ
การใช้ Alcohol hand rub
แต่ไม่ควรใช้ในกรณีที่มือเปื้อนสิ่งสกปรก หรือสารคัดหลั่งจากร่างกายที่มองเห็นด้วยตาเปล่า
โดยใช้ประมาณ 5 ml. (หรือปริมาณที่เพียงพอที่จะถูมือจนทั่ว) ถูมือทั้ง 2 ข้างให้ทั่วจนน้ำยาแห้งใช้เวลาประมาณ 30 วินาที โดยไม่ต้องล้างน้ำออก
ทดแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน หรือในบริเวณที่ไม่มีอ่างล้างมือ
ล้างมือก่อนสัมผัสผู้ป่วย ก่อนให้การพยาบาลผู้ป่วย เมื่อสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่ง หลังสัมผัสผู้ป่วย และหลังสัมผัสสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย
หยิบจับอุปกรณ์
หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง ทิ้งอุปกรณ์มีคมที่ใช้แล้วในภาชนะที่เหมาะสม ไม่สวมปลอกเข็มกลับคืน
หากจำเป็นต้องปลดเข็มให้ใช้เครื่องช่วยถอดเข็ม หรือใช้
One hand technique
เข็มหรือของมีคมที่ใช้แล้วควรทิ้งในภาชนะที่มีปากแคบไม่แตกหรือรั่วได้ง่าย
เมื่อเต็มแล้วปิดฝาส่งทำลายเชื้อหรือเผาเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้อื่นถูกเข็มตำหรือของมือคมบาดมือ
ทําความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและการสัมผัสกับสารคัดหลั่ง
ทำความสะอาดและทำลายเชื้อ หรือทำให้ปราศจากเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ทุกชิ้นที่ใช้กับผู้ป่วยแล้ว
หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน โดยเฉพาะถูกเข็มที่ใช้กับผู้ป่วยตำ
เป็นการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากเลือด สารน้ำของร่างกายสารคัดหลั่งทุกชนิด และสารขับถ่าย ยกเว้นเหงื่อ
การนำ แนวปฏิบัติของ Universal precautions และ Body substance isolation
Transmission-base precautions
การแพร่กระจายเชื้อของผู้ป่วยจะต้องทราบทางออกและทางเข้าของเชื้อโรคแต่ละชนิด
ใช้หลัก Standard precautions ร่วมด้วยเสมอ
การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อที่ทำให้เกิดโรคตามทางที่เชื้อออกจากตัวผู้ป่วย และทางที่จะเข้าสู่บุคคล
วิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูก น้ำลาย (Dropletprecautions)
อนุภาคฝอยละอองน้ำมูกน้ำลายเกิดจากการไอ จาม พูด การดูดเสมหะ การส่องกล้อง
เป็นการปฏิบัติเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจุลชีพที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน
การแพร่กระจายเชื้อโดยวิธีนี้เกิดจากการสัมผัสอย่างใกล้ชิดระหว่างแหล่งโรคกับผู้สัมผัส เพราะฝอยละอองมีขนาดใหญ่ลอยอยู่ในอากาศได้ไม่นาน และมักลอยอยู่ภายในระยะทางไม่เกิน 3 ฟุตจากแหล่งโรค
แนวทางการปฏิบัติ
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
หากไม่มีห้องแยกและไม่สามารถจัดให้ผู้ป่วยอยู่รวมกันได้ ควรจัดระยะห่างระหว่างเตียง ไม่น้อยกว่า 3 ฟุต
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ ผ้าปิดปาก-จมูก เมื่อให้การดูแลผู้ป่วยในระยะ 3 ฟุต
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจำเป็นควรให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดชนิดใช้แล้วทิ้ง (Disposable mask)
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact precautions)
โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อหรือมีเชื้อเจริญอยู่ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อระบบทางเดินอาหารด้วยเชื้อ
Escherichia coli
Shigella
Clostridium difficile
Rotavirus
Hepatitis A
ผู้ป่วยติดเชื้อ Herpes simplex virus
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อแบคทีเรียดื้อยาหลายชนิด
MRSA
Vancomycin-resistant enterococci (VRE)
ผู้ป่วยที่เป็นอีสุกอีใสหรืองูสวัด
แนวทางการปฏิบัติ
สวมเสื้อคลุม หากคาดว่าอาจสัมผัสเลือด สารคัดหลั่ง หนอง อุจจาระของผู้ป่วย
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจำเป็นต้องเคลื่อนย้าย ต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดการแปดเปื้อนเชื้อในสิ่งแวดล้อม
ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมน้ำยาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
หากสามารถทำได้ควรแยกอุปกรณ์ชนิด Non-critical items สำหรับผู้ป่วยโดยเฉพาะหากไม่สามารถแยกอุปกรณ์ได้ต้องทำความสะอาดและทำลายเชื้อก่อนนำไปใช้กับผู้ป่วยรายอื่น
สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย และเปลี่ยนถุงมือคู่ใหม่เมื่อสัมผัสสิ่งคัดหลั่งหรือส่วนของร่างกายที่น่าจะมีเชื้อโรคจำนวนมากขณะให้การพยาบาลผู้ป่วยรายเดิม
เป็นการปฏิบัติเพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อที่เกิดจากการสัมผัสทั้งทางตรงและทางอ้อม
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne precautions)
เป็นการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อที่มีอนุภาคขนาดเล็กกว่า 5 ไมครอน ซึ่งล่องลอยอยู่ในอากาศได้เป็นเวลานาน หรือฝุ่นละอองที่มีเชื้อโรคปนเปื้อนอยู่
โดยเฉพาะในผู้ป่วยวัณโรคหรือผู้ที่สงสัยว่าเป็นวัณโรคปอดหรือกล่องเสียง หัด อีสุกอีใส หรืองูสวัด รวมทั้งผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีอาการไอ มีไข้ หรือมีอาการผิดปกติของปอดโดยไม่ทราบสาเหตุ
แนวทางการปฏิบัติ
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ (Isolation) และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรงหรือผ่านเครื่องกรองที่มี
ประสิทธิภาพ ห้องแยกควรมีการหมุนเวียนอากาศอย่างน้อย 6 รอบต่อชั่วโมง
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ในกรณีความจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกนอกห้องให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดใช้แล้วทิ้ง (Disposable mask)
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
กําจัดเชื้อโรคแหล่งของเชื้อโรค
กำจัดสัตว์ทีเป็นแหล่งหรือพาหะของเชื้อ
ทำความสะอาดและทำลายเชื้อโรค อาคารสถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้
แยกผู้ป่วยติดเชื้อออกจากผู้ป่วยทั่วไป
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบาย (antibioticpolicy) การใช้ยาต้านจุลชีพ ----> ป้องกันหรือชะลอการเกิดการดื้อยา
การทําลายเชื้อและการทําให้ปราศจากเชื้อ (disinfection andsterilization)
ต้องกระทําอย่างถูกต้องเพื่อให้เครื่องมือเครื่องใช้อาคาร สถานที่ ปราศจากเชื้อโรค
สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่
ไม่เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค นํ้าดื่ม นํ้าใช้ สะอาดได้มาตรฐานมีการกําจัดนํ้าเสียและขยะมูลฝอยอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
การทําลายขยะ
กระดาษผ้าต่างๆทิ้งแบบขยะธรรมดา
เข็มใบมีดเชื้อโรคจากห้องปฏิบัติการทําลายเชื้อโดยautoclave ก่อนทิ้ง
เลือดหนองนํ้าสามารถเทลงโถส้วมได้
ปัจจุบันต่างประเทศเลิกใช้เตาเผาเพราะแพงและสร้างมลพิษ
การแยกขยะในโรงพยาบาล
ขยะทั่วไปแยกเป็นขยะแห้งและขยะเปียกใส่ถุงสีดํา
ขยะเป็นพิษ/มูลฝอยอันตรายแยกเก็บมิดชิดส่งบริษัทที่รับจํากัดโดยเฉพาะ
ของมีคมแยกใส่ภาชนะที่ไม่ทะลุได้ง่าย
ขยะที่นํากลับไปใช้ใหม่(recycle) ใส่ถุงสีขาว
ขยะติดเชื้อใส่ถุงสีแดง
แยกผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคน้อย
ออกจากแหล่งของเชื้อโรค และส่งเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล(surveilance)
การติดตามสังเกตการณ์การเกิดการติดเชื้อในโรงพยาบาลอย่างมีระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้
ทราบลักษณะการเกิดและการกระจายของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ทราบสถานการณ์หรือแนวโน้มของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
Infection control-nurse – ICN
จุดมุ่งหมายสําคัญคือลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อในโรงพยาบาลของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การติดเชื้อของบุคลากร
มือมีบาดแผลหรือผิวหนังแตกเป็นรอย
เลือดหรือสารคัดหลั่งกระเด็นเข้าตาปากจมูก
ถูกเข็มตําหรือของมีคมบาด
การปฏิบัติเพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อจุลชีพจากผู้ป่วยที่มีเชื้อหรือผู้ป่วยที่มีเชื้ออยู่แต่ไม่ปรากฏอาการ (Carrier) แพร่ไปสู่ผู้ป่วยอื่น บุคลากรหรือญาติผู้ป่วย
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
โดยยึดหลักปฏิบัติAseptic technique หรือเทคนิคปลอดเชื้อ
กระบวนการพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ตัวอย่าง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
มีโอกาสเกิดการระบาดของโรคในชุมชน
รวบรวมข้อมูลจากการประเมินมาแล้วนำข้อมูลที่ได้มากำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนและให้การพยาบาล (Planning and Implementation)
ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ เกณฑ์การประเมินผล และ การพยาบาลตามปัญหาของผู้ป่วย เพื่อให้สามารถแก้ไข หรือบรรเทาปัญหาของผู้ป่วยได้
มีการประเมินผลภายหลังให้การพยาบาลทุกครั้งกิจกรรมการพยาบาลที่สำคัญในการป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ จากกรณีตัวอย่าง
กิจกรรมการพยาบาลเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาลผู้ป่วย
ใช้หลัก Airborne precautions
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยและญาติ
รายงานอุบัติการณ์การเฝ้าระวังการเกิดโรคต่อคณะกรรมการการติดเชื้อของโรงพยาบาล
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย (Assessment)
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะโรคผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์SLE
ได้รับเคมีบําบัด
ภูมิคุ้มกันตํ่า WBC
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ไม่เกิดการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้ป่วยอื่น บุคลากร ญาติผู้ป่วย
การติดเชื้อลดลง
พยาบาลควรจะต้องตระหนักและให้ความสําคัญอยู่เสมอ
กิจกรรมการพยาบาลที่สําคัญ
หลักการใช้อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย
เลือกเครื่องป้องกันให้เหมาะสมกับงาน
เลือกขนาดให้พอดี
ใช้เฉพาะมีข้อบ่งชี้ให้ใช้เท่านั้นและเมื่อหมดกิจกรรมนั้นแล้วให้ถอดเครื่องป้องกันร่างกายนั้นออก
เหมาะกับเศรษฐานะ
การหมุนเวียนและกำจัดอย่างเหมาะสม
การหยิบจับของปราศจากเชื้อ
ถือปากคีบให้ปลายลงล่างตลอดเวลาห้ามหงายมือยกปลายขึ้นบน
เมื่อต้องการหยิบของให้ใช้ปากคีบคีบของให้แน่นอย่าให้ตกหล่น
ยกปากคีบออกจากกระปุกออกมาตรงๆโดยบีบปลายปากคีบระวังอย่าให้ปลายปากคีบดนปากกระปุกและไม่ให้ปลายปากคีบแยกออกจากกัน
เมื่อใช้ปากคีบเสร็จแล้วให้เก็บไว้ในกระปุกตามเดิมโดยไม่ให้กระทบกับปากกระปุก
หยิบด้วยปากคีบปราศจากเชื้อห้ามใช้มือเปล่าหยิบ
อุปกรณ์ป้องกันร่างกายที่ใช้ทางการแพทย์
แว่นป้องกันตา ( eyeware )
ถุงมือ ( glove )
หมวก ( cap )
เสื้อคลุม ( gown )
ผ้าปิดปาก – จมูก ( mask )
วิธีการสวม
จับปลายเชือก2เส้นด้านล่าง
ให้ Mask ปิดปากและคลุมถึงใต้คา
คาดสายผูกคู่บนอยู่เหนือใบหูและผูกเป็นเงื่อนกระตุกหลังศีรษะ
ผูกสายคู่ล่างเป็นเงื่อนกระตุกไว้ด้านหลังบริเวณท้ายทอย
คลี่ Mask ออกทาบลงบนใบหน้าใต้ระดับตาโดยให้คลุมทั้งจมูก ปาก และคาง
วิธีการถอด
กระตุกสายผูกคู่ล่างของ Mask
กระตุกสายผูกคู่บนของ Mask
จับสายผูกไว้แล้วตลบด้านนอกของ Mask เข้าหากัน
ม้วนพับแล้วใช้สายผูกพันไว้
ทิ้งลงในถังขยะติดเชื้อ
ผ้ากันเปื้อน ( apron )
รองเท้า ( footware )
การเปิดห่อของปราศจากเชื้อ
ใช้มือจับมุมผ้าด้านนอกสุดเคลี่อนออก คลี่ด้านข้างทั้งสองด้านแล้วจึงคลี่ด้านในสุด
ต้องคงความปลอดเชื้อของสิ่งของภายในห่อ และผ้าห่อด้านใน
แกะป้ายชื่อห่อของและป้ายวันหมดอายุออกให้หมดทิ้งลงถัง
ใช้ปากคีบ คีมของเพิ่มเติมหรือเติมนํ้ายาตามความต้องการในการใช้งาน
วางห่อของปราศจากเชื้อบนโต๊ะที่สะอาดสูงระดับเอว โดยให้มุมนอกสุดของห่ออยู่ไกลตัว
เมื่อใส่ของเพิ่มหรือเติมนํ้ายาเสร็จแล้ว ---> ปิดผ้าห่อของ โดยจับปลายของผ้าชิ้นในสุดปิดบนห่อของและพับมุมลงมาเล็กน้อย ต่อไปให้จับปลายด้านข้างปิดทบทีละข้าง สุดท้ายจับส่วนด้านนอกสุดปิดและเหน็บชายผ้าให้เรียบร้อยก่อนนำไปใช้
การเทนํ้ายา
เทนํ้ายาทิ้งในอ่างหรือชามรูปไตเล็กน้อยเพื่อเป็นการทําความสะอาดปากขวดก่อน
เวลาเทนํ้ายาให้เอาด้านที่มีป้ายชื่อไว้ข้างบนเพื่อป้องกันป้ายชื่อยาเปียกหากเทนํ้ายาหก
เปิดจุกขวดออกแล้ววางหงายลงบนโต๊ะ
การเทนํ้ายาต้องระวังอย่าให้ขวดยาสัมผัสกับภาชนะที่ใส่ให้เทห่างจากภาชนะพอสมควรถ้าเป็นขวดใหญ่ให้เทห่างภาชนะ 4-6 นิ้ว