Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ
วงจรการติดเชื้อ
เชื้อก่อโรค
แบคทีเรีย
Staphylococcus epidermidis
โปรโตซัว
Entamoeba histolytica
เชื้อรา
Candida albicans
ไวรัส
เชื้อหัด , อีสุกอีใส
พยาธิ
พยาธิเส้นด้าย
แหล่งกักเก็บเชื้อโรค
แหล่งของเชื้อโรคเป็นที่ให้เชื้อโรคเจริญเติบโตและมีการขยายตัว
ทางออกของเชื้อ
ระบบทางเดินหายใจ ออกมาพร้อมน้ํามูก ลมหายใจ
ระบบสืบพันธุ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
อยู่บนแผลที่ผิวหนัง
มารดาสู่ทารกในครรภ์ผ่านทางสายสะดือ
หนทางการแพร่กระจายเชื้อ
เชื้อแพร่กระจายจากผู้ติดเชื้อหรือผู้ป่วยไปสู่ผู้อื่น
การสัมผัส
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนํา
ทางเข้าของเชื้อ
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีกขาด
ความไวในการรับเชื้อของบุคคล
ภายหลังที่เชื้อจุลชีพเข้าไปในร่างกายและ
จะทําให้บุคคลติดเชื้อง่ายหรือยาก
ขึ้นอยู่กับลักษณะของเชื้อจุลชีพ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความเครียด
ถ้ามีความเครียดจะมีความไวต่อการติดเชื้อได้ง่าย
ภาวะโภชนาการ
บุคคลที่ได้รับอาหารครบถ้วน
ความไวต่อการติดเชื้อจะน้อยกว่าคนที่ขาดอาหาร
โปรตีนเป็นสารอาหารที่ช่วยในการสร้างเนื้อเยื่อ
และช่วยให้เนื้อเยื่อเจริญเติบโต
ความอ่อนเพลีย
อ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอจะติดเชื้อง่ายกว่า
ความร้อนหรือเย็น
คนที่ได้รับความร้อนหรือเย็นจัดจนเกินไปมีความไวต่อการติดเชื้อมากกว่า
เนื่องจากร่างกายต้องปรับตัวต่อความร้อนหรือความเย็นมาก
โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
คนที่มีอาการแพ้ต่าง ๆ มีความต้านทานต่ำกว่าคนปกติ
เพศ
โรคบางชนิดพบมากในแต่ละเพศไม่เท่ากัน
กรรมพันธุ์
บางคนขาดสาร Immunoglobulin ซึ่งสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย
อายุ
ในเด็กมีความไวต่อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่
เนื่องจากการสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกายไม่ได้ดีเท่าผู้ใหญ่
คนสูงอายุมีภูมิต้านทานน้อยกว่า
เนื่องจากร่างกายได้รับอาหารไม่พอเพียงและมีโรคเรื้อรังร่วมอยู่ด้วย
การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
ทําให้ติดเชื้อได้ง่าย
คนที่รับการรักษาด้วยการฉายรังสี มีการทําลายเนื้อเยื่อ
ลดการสร้างเม็ดเลือดขาวและแอนติบอดี
อาชีพ
เช่น คนเลี้ยงนกพิราบมีโอกาสติดเชื้อไวรัส H1N1
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรค
ส่วนใหญ่เป็นเชื้อประจําถิ่น หรือเชื้อที่พบบนร่างกายผู้ป่วยเอง
เชื้อก่อโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่พบมากที่สุด คือ เชื้อแบคทีเรียกรัมลบทรงแท่ง
คน
พบได้มากในผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำเช่น เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ
สิ่งแวดล้อม
อาคาร
สถานที่
เครื่องมือ เครื่องใช้
บุคลากรในโรงพยาบาล
ญาติที่มาเยี่ยม
เครื่องมือทางการแพทย์ที่ใช้ตรวจหรือรักษา
การแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส
สัมผัสโดยตรง
สัมผัสกันโดยตรงระหว่างคนต่อคน
มือไปสัมผัสแหล่งโรคแล้วสัมผัสผู้ป่วย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งมือของบุคลากรผู้ให้การพยาบาลผู้ป่วย
สัมผัสโดยอ้อม
สัมผัสกับสิ่งของหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อก่อโรค
การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง
สัมผัสกับฝอยละอองน้ํามูกน้ําลาย
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
สูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศ
เข้าสู่ระบบทางเดินหาย
การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนํา
มีเชื้อจุลชีพปนเปื้อนอยู่ในเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด อาหาร น้ํา ยา สารน้ําที่ให้ทางหลอดเลือดดําแก่ผู้ป่วย
การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ
แมลง หรือสัตว์นําโรค คนได้รับเชื้อจากการถูกแมลงหรือสัตว์กัด
และเชื้อที่มีอยู่ในตัวแมลงถูกถ่ายทอดสู่คน
การทําลายเชื้อ และการทําให้ปราศจากเชื้อ
การทําลายเชื้อ
การล้าง
การต้ม
ทําง่าย ประหยัด และมีประสิทธิภาพดี
ต้มเดือดนาน 20 นาที
การใช้สารเคมี
เป็นวิธีการสุดท้ายที่จะใช้ถ้าไม่มีวิธีอื่น
การใช้น้ํายาฆ่าเชื้อ
การล้างมือธรรมดา
การล้างมือก่อนทําหัตถกรรม
การเตรียมผิวหนัง
การทําแผล
การทําความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอด
การสวนล้างช่องคลอด
การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัด
ระดับการทําลายเชื้อ
ระดับสูง
ทำลายจุลชีพก่อโรคได้ทุกชนิด
รวมทั้งสปอร์ของเชื้อแบคทีเรีย
ระดับกลาง
ทำให้เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส
และเชื้อราอ่อนกําลังลงจนไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์
แต่ไม่สามารถทําลายสปอร์ของเชื้อแบคทีเรียได้
ระดับต่ำ
ทําลายเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อราบางชนิด
แต่ไม่สามารถทําลายเชื้อที่มีความคงทน
การทําให้ปราศจากเชื้อ
วิธีการทางกายภาพ
การใช้ความร้อน
ปฏิบัติได้ง่ายและมีประสิทธิภาพสูงสุด
การเผา
ทำลายอุปกรณ์ที่จะไม่นํากลับมาใช้อีกต่อไป
การใช้ความร้อนแห้ง
วิธีนี้เหมาะสําหรับอุปกรณ์ประเภทแก้วและโลหะ
การต้ม
วิธีนี้จึงไม่ใช่วิธีการทําให้ปราศจากเชื้อที่เชื่อถือได้แน่นอน
การใช้ความร้อนชื้น
เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพที่สุด
การใช้รังสี
ต้องให้รังสีสัมผัสโดยตรงกับเชื้อจุลชีพ วิธีนี้จึงไม่จัดว่าเป็นการทําให้ปราศจากเชื้อที่แท้จริง
วิธีการทางเคมี
การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas (EO)
นิยมมากในปัจจุบัน
Formaldehyde
การใช้ High-level disinfectant
Glutaraldehyde
Hydrogen peroxide
Peracetic acid
การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
Standard precautions
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง โดยล้างมือก่อนสัมผัสผู้ป่วย
การล้างมือธรรมดา
การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อโรค
การล้างมือก่อนทําหัตถการ
การใช้ Alcohol hand rub ทดแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน
สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
ถุงมือ
เสื้อคลุม
ผ้าปิดปากและจมูก
หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
ทําความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
ทําความสะอาดและทําลายเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ทุกชิ้นที่ใช้กับผู้ป่วยแล้ว
หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน
Transmission-base precautions
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกห้องผู้ป่วย
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
อากาศภายในห้องแยก ควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรงหรือผ่านเครื่องกรองที่มีประสิทธิภาพ
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก - จมูก ชนิด N95
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ํามูกน้ําลาย
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
หากไม่มีห้องแยก ควรจัดระยะห่าง ระหว่างเตียงไม่น้อยกว่า 3 ฟุต
ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก เมื่อให้การดูแลผู้ป่วยในระยะ 3 ฟุต
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจําเป็นควรให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดชนิดใช้แล้วทิ้ง
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส
สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย และเปลี่ยนถุงมือคู่ใหม่
เมื่อสัมผัสสิ่งคัดหลั่งหรือส่วนของร่างกายที่น่าจะมีเชื้อโรค
ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมน้ํายาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
สวมเสื้อคลุม
จํากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หากจําเป็นต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดการแปดเปื้อนเชื้อ
ควรแยกอุปกรณ์ชนิด Non-critical items หากไม่สามารถแยกอุปกรณ์ได้
ต้องทําความสะอาดและทําลายเชื้อก่อนนําไปใช้กับผู้ป่วยรายอื่น
1) กําจัดเชื้อโรค
2) ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรค
3) สิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่ ควรให้สะอาดและแห้ง
4) การทําลายเชื้อและการทําให้ปราศจากเชื้อต้องกระทําอย่างถูกต้อง
5) การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน
6) การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
7) การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย
ซักประวัติและตรวจร่างกายเกี่ยวกับโรคของผู้ป่วย
การรักษาที่ได้รับ ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
รวบรวมข้อมูลจากการประเมินมาแล้วนําข้อมูล
ที่ได้มากําหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนและให้การพยาบาล
กําหนดวัตถุประสงค์ เกณฑ์การประเมินผล
และการพยาบาลตามปัญหาของผู้ป่วย
เพื่อให้สามารถแก้ไข หรือบรรเทาปัญหาของผู้ป่วยได้
การประเมินผลการพยาบาล